>> Drug Interaction <<
ผลของฟ้าทะลายโจรเมื่อให้ร่วมกับยา midazolam ในอาสาสมัครสุขภาพดี17/06/13 การให้รับประทานยาแคปซูลฟ้าทะลายโจรไม่มีผลต่อเภสัชจลศาสตร์ของยา midazolam...
ฟ้าทะลายโจร
ฟ้าทะลายโจร
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.ex Nees วงศ์ : ACANTHACEAE
ชื่อสามัญ : The Creat Creyat Root,Halviva,Kariyat,Kreat
ชื่ออื่น : หญ้ากันงู (สงขลา) น้ำลายพังพอน ฟ้าละลายโจร (กรุงเทพฯ) ฟ้าสาง (พนัสนิคม) เขยตายยายคลุม สามสิบดี (ร้อยเอ็ด) เมฆทะลาย (ยะลา) ฟ้าสะท้าน (พัทลุง)
สรรพคุณ
- ทั้งต้น รสขม รับประทานแก้ไข้หวัด,แก้ต่อมทอนซินอักเสบ,แก้ปอดอักเสบ,แก้บิด,แก้ท้องเดิน, ต้มกับเบญจมาศดื่มแก้ไส้ติ่งอักเสบ ลดความดันโลหิต,ใช้แทนยาปฏิชีวนะ,ไม่ควรใช้ติดต่อกันนานเกินไปเนื่องจากฟ้าทะลายโจรจะทำลายจุลชีพที่มีประโยชน์ในกระเพาะมากไป
- ใบ รสขม บดผสมน้ำมันพืชทาแผลน้ำร้อนลวก ไฟไหม้, ใบสดนำมาเคี้ยวกลืนน้ำแก้คออักเสบ เจ็บคอ
ที่มา : วุฒิ วุฒิธรรมเวช
สารสำคัญในการออกฤทธิ์
คือ สารกลุ่ม Lactone คือ
- สารแอนโดรกราโฟไลด์ (andrographolide)
- สารนีโอแอนโดรกราโฟไลด์ (neo-andrographolide)
- 14-ดีอ๊อกซี่แอนโดรกราโฟไลด์ (14-deoxy-andrographolide)
งานวิจัยเกี่ยวกับฟ้าทะลายโจร
>> หวัด <<
ผลของสารสกัดจากฟ้าทะลายโจรต่อโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้น 11/02/11
กลุ่มผู้ป่วยที่ได้รับยา KalmColdTM ซึ่งเป็นสารสกัดเมทานอลจากใบฟ้าทะลายโจร มีอาการโดยรวมดีขึ้น เมื่อเทียบกับกลุ่มที่ได้รับยาหลอก ทั้งอาการไอ เสมหะ น้ำมักไหล ปวดศีรษะ ไข้ เจ็บคอ เมื่อยล้า และอาการนอนหลับดีขึ้น
การศึกษาประสิทธิภาพการรักษาของสารสกัดฟ้าทะลายโจร (KalmColdTM) ในผู้ป่วยที่มีอาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้น 06/08/10
จากการเปรียบเทียบในกลุ่มพบว่าทั้งสองกลุ่มมีอาการโดยรวมลดลงอย่างมีนัยสำคัญในวันที่ 1-3 (P≤0.05) แต่ในวันที่ 3-5 พบเพียงกลุ่ม KalmColdTM มีอาการดีขึ้นตามลำดับอย่างมีนัยสำคัญ(P≤0.05) โดยที่กลุ่มยาหลอกมีอาการไม่เปลี่ยนแปลง อาการข้างเคียงไม่พึงประสงค์ไม่มีความแตกต่างกันในทั้งสองกลุ่ม (Z=0.063, P>0.05) และเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่มพบว่า KalmColdTM สามารถลดอาการโดยรวมได้มากกว่ายาหลอกอย่างมีนัยสำคัญ (P≤ใช้รักษาและลดอาการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนต้นได้
ผลการยับยั้งไวรัสไข้หวัดของ Andrographolide และอนุพันธ์ 30/10/09
"14-α-lipoyl andrographolide (AL-1) เป็นอนุพันธ์ของ Andrographolide สารสำคัญที่พบในฟ้าทะลายโจร ซึ่ง AL-1 มีฤทธิ์ยับยั้งแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรค
พบว่าหนูเม้าส์ที่ได้รับ AL-1 ขนาด 100-200 มิลลิกรัม/กิโลกรัมน้ำหนักตัว/วัน แบ่งให้วันละ 2 ครั้ง นานติดต่อกัน 7 วัน ช่วยลดอัตราการเสียชีวิต ยืดอายุหนูที่ติดเชื้อไวรัสหวัด ลดอาการผิดปกติของปอด และลดจำนวนไวรัสในปอดได้ดีใกล้เคียงกับการใช้ยา Ribavirin และ Oseltmivir และให้ผลดีกว่าการใช้ Andrographolide และ 14-dehydroxyandrographolide-12-sulfonic acid sodium salt
ในการให้ AL-1 เพื่อป้องกันโรคจะให้ผลการป้องกันดีที่สุดเมื่อให้ก่อนได้รับเชื้อไวรัสหวัดทั้ง 3 ชนิด 24 ชั่วโมง และให้ประสิทธิภาพในการรักษาหนูที่ติดเชื้อไวรัสหวัด H9N2 ได้ดีที่สุดเมื่อให้หลังจากได้รับเชื้อไวรัส 4 ชั่วโมง ทั้งนี้โดยไม่พบว่าสารหรือยาตัวใดแสดงผลการยับยั้งเชื้อไวรัสหลังจากได้รับเชื้อ 72 ชั่วโมง"
ผลบรรเทาอาการหวัดของสารสกัดฟ้าทะลายโจร 26/07/01
มีประสิทธิภาพในการลดอาการต่างๆ ตั้งแต่วันที่ 2 ของการรักษา โดยลดอาการอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เจ็บคอ น้ำมูกไหล และไม่พบอาการข้างเคียงของยา ในยาเม็ด 1 เม็ด ประกอบด้วยสารสกัดฟ้าทะลายโจร 100 มิลลิกรัม ควบคุมคุณภาพมาตรฐานให้มีปริมาณแอนโดรกราโฟไลด์ ( andrographolide ) และดีออกซิแอนโดรกราโฟไลด์ ( deoxyandrographolide ) รวมอย่างต่ำเม็ดละ 5 มิลลิกรัม ให้ผู้ป่วยรับประทานครั้งละ 4 เม็ด วันละ 3 ครั้ง ( ปริมาณสารสกัด 1,200 มิลลิกรัม/วัน )
ผลบรรเทาอาการหวัดของสารสกัดฟ้าทะลายโจร 14/09/00
การศึกษาทางคลินิกเพื่อประเมินประสิทธิภาพและความปลอดภัยของผลิตภัณฑ์ ยาเม็ดซึ่งเตรียมจากสารสกัดฟ้าทะลายโจร (Andrographis paniculata Burm. f. Nees) ในผู้เป็นหวัด จำนวน 158 คน พบว่ามีประสิทธิภาพในการลดอาการต่างๆ ตั้งแต่วันที่ 2 ของการรักษา โดยลดอาการอ่อนเพลีย นอนไม่หลับ เจ็บคอ น้ำมูกไหล และไม่พบผลข้างเคียงของยา ในยาเม็ด 1 เม็ด ประกอบด้วยสารสกัดฟ้าทะลายโจร 100 มิลลิกรัม ควบคุมคุณภาพมาตรฐานให้มีปริมาณแอนโดรกราโฟไลด์(andrographolide) และดีออกซิแอนโดรกราโฟไลด์ (deoxyandrographolide) รวมอย่างต่ำเม็ดละ 5 มิลลิกรัม ให้ผู้ป่วยรับประทานครั้งละ 4 เม็ด วันละ 3 ครั้ง (ปริมาณสารสกัด 1,200 มิลลิกรัม/วัน)
>> ต้านจุลชีพ <<
สาร Andrograpanin จากฟ้าทะลายโจรลดการอักเสบ 06/02/09
andrograpanin ที่ความเข้มข้น 15 – 90 ไมโครโมล สามารถยับยั้งการสร้าง nitric oxide และไซโตคายน์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบ คือ α-tumor necrosing factor, interleukin-6 และ interleukin –12p70 โดยผ่านการยับยั้งการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างไซโตคายน์ดังกล่าว และผ่านการลดการสร้าง inducible nitric oxide synthase นอกจากนั้นกลไกลดการอักเสบยังผ่านสัญญาณของ p38 mitogen-activated protein kinase signaling pathway
ฤทธิ์ยับยั้งการเกิด Nitric oxide (NO) ของสารจากฟ้าทะลายโจร 31/01/03
andrographolide และ neoandrographolide เป็นสารซึ่งสกัดแยกได้จากฟ้าทะลายโจร ซึ่งมีฤทธิ์ลดการอักเสบ การศึกษาครั้งนี้พบว่า การทดลองในการเพาะเลี้ยงเซลล์ peritoneal macrophage พบว่ายับยั้งการเกิด NO และเมื่อทดลองป้อนให้หนูถีบจักร neoandrographolide เท่านั้นที่ให้ผลยับยั้งการเกิด NO ส่วน andrographolide ไม่ให้ผล
>> Drug Interaction <<
ผลของฟ้าทะลายโจรเมื่อให้ร่วมกับยา midazolam ในอาสาสมัครสุขภาพดี 17/06/13
การให้รับประทานยาแคปซูลฟ้าทะลายโจรไม่มีผลต่อเภสัชจลศาสตร์ของยา midazolam แต่จากการศึกษาพบว่าการให้ยาแคปซูลฟ้าทะลายโจรร่วมกับยา midazolam มีผลทำให้ความดันโลหิต และอัตราการเต้นของชีพจรลดลงหลังจากที่ได้รับยาไป 1 - 2 ชม. ดังนั้นหากมีความจำเป็นต้องใช้ยาทั้งสองร่วมกันควรระมัดระวังด้วย
ผลของฟ้าทะลายโจร (AP) บัวบก (CA) และหญ้าหนวดแมว(OS) ต่อ cytochrome P450 2C19 (CYP2C19) 07/10/11
AP, CA และ OS มีฤทธิ์ยับยั้ง CYP2C19 ด้วยความแรงที่แตกต่างกัน โดย AP มีฤทธิ์อย่างอ่อน ในขณะที่สารสกัดไดคลอโรมีเทนของ CA และสาร eupatorin จากหญ้าหนวดแมวมีฤทธิ์อยู่ในระดับปานกลางถึงสูง ดังนั้นจึงควรระมัดระวังการใช้สมุนไพรบัวบกและหญ้าหนวดแมว ร่วมกับยาแผนปัจจุบันที่อยู่ในกลุ่ม CYP2C19 substrates เช่น omeprazole, proguanil, barbiturates, citalopram, และdiazepam เนื่องจากอาจทำให้มีระดับยาในเลือดสูงจนเกิดอันตรายได้
ปฏิกิริยาระหว่างสารสกัดฟ้าทะลายโจร (AG) และยาแผนปัจจุบัน 11/02/11
การให้ theophylline ในขนาด 5 มก./กก. (high dose) ในหนูที่ได้รับ AG ล่วงหน้า 3 วัน จะทำให้การกำจัดยา theophylline ซึ่งเป็นยาในกลุ่ม CYP1A2-metabolized drug ลดลง แต่มีการสะสมของ theophylline ในกลุ่มที่ได้รับ APE ดังนั้นหากมีการใช้ยาในกลุ่มนี้ ควรหลีกเลี่ยงการใช้ฟ้าทะลายโจร เพื่อป้องกันความล้มเหลวในการรักษาและความเป็นพิษที่เกิดจากการสะสมของยากลุ่มดังกล่าว
ข้อมูลจาก สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
www.medplant.mahidol.ac.th/active/news.asp
-
ประโยชน์ของชา 茶 ตามหลักการแพทย์แผนจีน ชาเป็นยาสมุนไพรจีนชนิดหนึ่งที่สามารถปรับสมดุลความต้องการของร่างกายและคุณภาพอาหารและยาที่แตกต่างกันได้ ชามีประโยชน์มากมายต่อสุขภาพกายของเรา เช่...
-
เก๋ากี้หรือโกจิเบอร์รี่ โกจิเบอร์รี่ถือเป็นยาบำรุงที่ทรงพลังในการแพทย์แผนจีน ช่วยบำรุงเลือด บำรุงตับ ไต และทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้น ลำไย ผลลำไยมีฤทธิ์บำรุงหัวใจและม้าม ส่งเสริมกา...
-
ตามหลักการของการแพทย์แผนจีน อาหารสามารถมีปฏิกิริยากับยาสมุนไพร อาจเสริมหรือทำลายสมดุลของพลังงานภายในร่างกายได้ หัวไชเท้าที่มีฤทธิ์เย็น อาจต่อต้านหรือลดผลจากความร้อนของสมุนไพรบางชน...
-
椰子 (เอี้ยจื่อ)Coconut มะพร้าวรสหวานฤทธิ์เย็นเข้าสู่เส้นลมปราณ: หัวใจ ม้าม กระเพาะอาหาร ไต ลำไส้ใหญ่กลไกการออกฤทธิ์: บำรุงชี่, บำรุงเลือด, บำรุงหยิน, บำรุงจิง(สารจำเป็นของร่างกาย), ...
-
ในทางการแพทย์แผนจีน ทุเรียนมีคุณสมบัติอุ่นและเสริมกำลัง ทำให้ม้ามและกระเพาะอาหารแข็งแรง ส่งเสริมการย่อยอาหาร และเพิ่มระดับพลังงาน บางคนรับประทานทุเรียนอาจส่งผลต่อการย่อยอาหาร เนื่อ...
-
วิธีตุ๋นกระเพาะปลาเพื่อการบำรุง วิธีอย่างง่าย • ใช้กระเพาะปลาหนึ่งถุง หรือประมาณ 10 กรัม สำหรับรับประทานหนึ่งคน ใน หนึ่งครั้ง • อาจตุ๋นร่วมกับโสม และเปลือกส้มเล็กน้อยก็ได...
-
สาหร่ายทะเล Hai Dai 海带 หรือ Kelp หรือ Kombu คุณลักษณะทางการแพทย์แผนจีน ในทางการแพทย์แผนจีน Hai Dai (kelp หรือ Kombu) มีรสเค็ม หวานเล็กน้อย ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของกระเพาะ...
-
งาดำ 黑芝麻 (hēi zhī má) Black Sesame คุณลักษณะทางการแพทย์แผนจีน รส: หวาน ฤทธิ์: กลาง เข้าสู่เส้นลมปราณ: ตับ ไต ม้าม การออกฤทธิ์ บำรุงตับและไต หยินและสารสำคัญ ทำให้อวัยวะทั้งห...
-
หนิวหวง หรือหงู่อึ๊ง 牛黄 Niu Huang เป็นสมุนไพรสำคัญในตำรับยาจีนดีๆหลายตำรับ เช่น เพี่ยนจื้อหวาง(เพี่ยงเกี๋ยอึ๊ง) 片仔癀 Pian Zi Huang (Pien Tze Huang) และตำรับอันกงหนิงหวง(อังเก็งหงู่อ...
-
ดอกกุหลาบ 玫瑰花 ในทางการแพทย์แผนจีน มีรสขม ฤทธิ์อุ่น ส่งเสริมการไหลเวียนโลหิต และขจัดภาวะเลือดชะงักงัน ควบคุมพลัง บรรเทาอาการซึมเศร้า ควบคุมประจำเดือน และบรรเทาอาการปวด 5 คุณประโยชน์...
-
กระเพาะปลา หรือ 鱼鳔 หวี เปี้ยว หรือหื่อเผีย ในภาษาจีน โดยแท้จริงแล้วไม่ใช่กระเพาะของปลา หากแต่เป็นอวัยวะในส่วนถุงลมที่ใช้ในการลอยตัวของปลา แพทย์จีนแต่โบราณใช้บำรุงเลือด โดยให้ฉายากร...
-
เก๋ากี้ 枸杞子 จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงหยิน Pharmaceutical Latin:Fructus Lycii Common English:Lycium Fruit , Chinese Wolfberry Fruit , Matrimony Vine Fruit, Lycium barbarum L. and...
-
เก๋ากี้ดำ 黑枸杞 ชื่อลาติน : Lycium ruthenicum Murr ชื่อสามัญ : Black wolfberry ตำราโบราณทางการแพทย์ ของทิเบตบันทึกการใช้เก๋ากี้ดำไว้ว่า เป็นยาสำหรับการรักษาโรคหัวใจ แก้ไขประจำเดือนผ...
-
กุ้ยฮวา 桂花 หรือ หอมหมื่นลี้ (Sweet osmanthus Flower) มีชื่อเรียกอื่นว่า Mu Xi Hua 木犀花 คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสเผ็ดฉุน ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของ ปอด ม้าม ไต กลไกก...
-
เก๊กฮวย 菊花 Pin Yin : JU HUAชื่อวิทยาศาสตร์ : Flos Chrysanthemiชื่อสามัญ : Chrysanthemum Flower เก๊กฮวยมีรสหวานอมขม ฤทธิ์เย็น ไม่มีพิษ เป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณตับ และปอด...
-
กังป๋วย干贝 หรือ กังหื่อหยู มีรสหวาน ฤทธิ์กลาง ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณ ตับ, ไต, ม้าม ช่วยบำรุงหยิน เสริมเลือด บำรุงอวัยวะภายในทั้งห้า ซึ่งประกอบด้วย ตับ ไต หัวใจ ปอด ม้าม บำรุงหยิน บำร...
-
เขี่ยมซิก芡实 Qian Shi Pharmaceutical Latin : Semen EuryalesCommon English : Euryale Seeds, Foxnut เขี่ยมซิก มีคุณลักษณะตามหลักการแพทย์แผนจีนคือ รสหวาน ฤทธิ์ กลาง ออกฤทธิ์ตามเส้นลมป...
-
ชื่อสามัญ :Tumeric, Curcuma, Yellow Root ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa L. วงศ์ ZINGIBERACEAEชื่ออื่น ๆ ขมิ้น, ขมิ้นแกง, ขมิ้นชัน, ขมิ้นหยอก, ขมิ้นหัว, ขี้มิ้น, ตายอ, หมิ้นพญาว่าน,ข...
-
แปะฮวยจั่วจิเช่า BAI HUA SHE SHE CAO -白花蛇舌草 HERBA HEDYOTIS DIFFUSAE - OLDENLANDIA คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รถขม-หวาน ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของ ตับ กระเพาะอาหาร ลำไส...
-
ฉั่งฉิก 田七 (Tian Qi) หรือ อีกชื่อหนึ่งว่า ซาฉิก 三七(San Qi) คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสหวาน ขมเล็กน้อย ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของตับ กระเพาะอาหาร ลำไส้ใหญ่ ปริมาณการใช...
-
ชวงเกียง 川芎 จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรปรับการไหลเวียนของเลือด Pharmaceutical Latin : Rhizoma Chuanxiong, Rhizoma Ligustici Chuanxiong, Rhizoma Ligustici Wallichii Common English : Szech...
-
ซวนเจ่าเหริน (ซึงจ๋อยิ้ง) 酸枣仁 Suan Zao Ren เป็นสมุนไพรในกลุ่มสงบประสาท เป็นเนื้อในเมล็ดของพุทราจีนพันธุ์หนึ่ง ช่วยให้หลับสบาย สงบจิตใจ ชื่ออื่นๆ : SEMEN ZIZYPHI SPINOSAE - SOUR JUJ...
-
ซึงจ๋อยิ้ง Suan Zao Ren 酸枣仁 SEMEN ZIZYPHI SPINOSAE - SOUR JUJUBE SEEDS จ๋อยิ้งจัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรสงบจิตใจ คุณลักษณะตามหลักการแพทย์แผนจีนคือ รสหวาน เปรี้ยว ฤทธิ์กลาง ออกฤทธิ์ตาม...
-
ดอกกุหลาบ Mei Gui Hua - 玫瑰花 - FLOS ROSAE RUGOSAE คุณสมบัติของสมุนไพร ตามหลักการแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรควบคุมพลัง(ชี่) รสหวาน ขมเล็กน้อย ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณขอ...
-
ตังทั้งแห่เช่า (冬虫夏草) Dong Chong Xia Cao ชื่อวิทยาศาสตร์ :Ophiocordyceps sinensis ชื่อสามัญ :Cordyceps,Chinese Caterpillar Fungus จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงหยาง ตังทั้งแห่เช่า หรื...
-
แตงโม XI GUA- 西瓜 - FRUCTUS CITRULLI คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสหวาน ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของกระเพาะปัสสาวะ, หัวใจ, กระเพาะอาหาร, ม้าม และปอด กลไกการออกฤทธิ์ ล้าง...
-
ตังกุย dang gui 当归 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Angelicae Sinensisชื่อสามัญ : Chinese Angelica Root, Tang-Kuei , Dong Quai Root บำรุงเลือด สมุนไพรสำคัญทางสูตินรีเวช มีใช้ในสมุนไพรไทยในช...
-
สารตัวสำคัญที่พบในรากโสมคือ สาร saponin ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ginsenoside กลุ่ม panaxoside และกลุ่ม chikusetsusaponin สารในโสมที่สำคัญที่สุดคือคือ ginsenoside ซึ่งจะมีในโส...
-
มักมีคำถามเรื่องการเลือกใช้โสมว่า เมื่อไหร่จะใช้โสมเอี่ยเซียม เมื่อไหร่จึงจะใช้โสมคน ในที่นี้จะขอสรุปเป็นข้อสังเกตคร่าวๆ โสมเอี่ยเซียม 西洋参 - RADIX PANACIS QUINQUIFOLII รสหวาน ขมเล็...
-
ผู้ที่ใช้สมุนไพรจีนประจำ มักได้รับคำแนะนำว่า ไม่ควรทานหัวผักกาดพร้อมกับโสม สาเหคุที่มาของคำแนะนำนี้ก็เพราะว่า โสมมีสรรพคุณในการบำรุงปอดและไตเพิ่มน้ำ แก้กระหายปรับสภาพอาการที่หายใจไ...
- โสมเอี่ยเซียม 西洋参 หรือชื่อสามัญว่า American Ginseng ชื่อละตินคือ Panax quinquefolium L. ส่วนโสมคน หรือหยิ่งเซียม 人參 ชื่อสามัญคือ Ginseng ชื่อละตินคือ Panax Giaseng C. A. Mey. ดังที...
-
บักเฮียง 木香 Mu Xiang หรือโกฐกระดูกในตำราสมุนไพรไทย เป็นอีกหนึ่งสมุนไพรที่ไทยยืมมาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากสมุนไพรจีน สังเกตจากชื่อที่มีคำว่า "โกฐ" นำหน้า ชื่อสามัญ : Costus Rootชื...
-
แบะตง 麦冬 mai dong สมุนไพรบำรุงประสาท เสริมสร้างการทำงานของปอด บำรุงหัวใจ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Ophiopogonis, Tuber Ophiopogonisชื่อสามัญ : Ophiopogon Tuber , Creeping Lily-Turf R...
-
เรามักได้ยินชื่อเสียงของปลิงในด้านอาหารบำรุงขึ้นชื่อของชาวจีน ถึงขนาดได้รับการยกย่องให้เป็น "บิ๊กโฟร์" ของอาหารจากทะเลขึ้นโต๊ะจีนในงานเลี้ยงใหญ่ ร่วมกับกระเพาะปลา, หอยเป๋าฮื้อ และห...
-
ปักตังเซียม หรือตั่งเซียม 党参 Dang Shen สมุนไพร " เสริมภูมิคุ้มกันร่างกาย" ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Codonopsisชื่อสามัญ : Codonopsis Root, Bonnet Bellflower , Downy Bellflower Root ค...
-
หวงฉี หรืออึ่งคี้ในสำเนียงจีนแต้จิ๋ว 黄芪 (huáng qí) เป็นพืชสายพันธุ์ Astragalus membranaceus เป็นสมุนไพรยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในภาคเหนือและภาคตะวันออกของจีน และถูกนำมาใ...
-
แปะฮะ 百 合 Bai He ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bulbus Lilii ชื่อสามัญ : Lily Bulb, Brown's Lily Bulb, Lilium รสหวานอมขม ฤทธิ์เย็นเล็กน้อย เป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของหัวใจและปอด จัด...
-
ตั่วจ้อ 大枣 da zao ; อั่งจ้อ hong zao 紅枣 หรือพุทราจีน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Fructus Jujubeชื่อสามัญ : Jujube, Jujube Berry , Chinese Date , Zizyphus , Black Date รสหวาน ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธ...
-
โต่วต๋ง 杜仲 Du Zhong สมุนไพรแก้ปวดหลัง ลดความดันโลหิต ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cortex Eucommiaeชื่อสามัญ : Eucommia Bark คุณลักษณะ รสหวาน ฉุน ฤทธิ์อุ่น เป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณ...
-
Wu Zhu Yu 吳茱萸 - FRUCTUS EVODIAE รสเผ็ด ขม ฤทธิ์ร้อน มีพิษเล็กน้อย ออกทธิ์ตามเส้นลมปราณของตับ ม้าม กระเพาะอาหาร ไตขนาดการใช้ ครั้งละ 1.5 - 10 กรัม กลไกการออกฤทธิ์ อบอุ่นจงเจียว ขับ...
-
โสมคน หยิ่งเซียม REN SHEN - 人參 Pharmaceutical Latin : Radix GinsengCommon English : Ginseng Root , Asian Ginseng Root, Panax จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงพลัง (ชี่) คุณสมบัติ รสหวาน ...
-
โสม แบ่งตามแหล่งที่เกิดกว้างๆ ได้ 2 กลุ่มคือ - โสมตะวันออก- โสมตะวันตก โสมตะวันออก คือโสมดั้งเดิมของชาวจีน ถ้าดิบๆก็เรียกกันว่าโสมคน ถ้าผ่านกรรมวิธีแปรรูป ก็จะเป็น โสมขาว โสมแดง โส...
-
หลินจือ 灵芝 Pin-yin : Ling ZhiBiological Name : Ganoderma lucidum หรือ Ganoderma japonicumPharmaceutical Name : Ganodermae lucidi, Ganodermae japoniciชื่ออื่นๆ : mu ling zhi 木靈芝,jun...
-
ไหว่ซัว 淮山 ( huai shan ) สมุนไพรเสริมระบบดูดซึมสารอาหาร จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงพลัง(ชี่) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhizoma Dioscoreaeชื่อสามัญ : Chinese Yam, Mountain Yam Rhizome รสหวาน...
-
เหล่งเอี๊ยง LING YANG JIAO -羚羊角 Cornu Saigae TataricaeCornu AntelopisAntelope Horn คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสเค็ม ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของ หัวใจ ตับ ปอด ขนาดการใช้...
-
ห่อสิ่วโอว 何首烏 He Shou Wu จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงเลือด ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Radix Polygoni Multiflori (Preparata)ชื่อสามัญ : Fleeceflower Root , Flowery Knotweed Root, mbing Kno...
-
เออเจียว อาเจียว หรืออากา ในสำเนียงจีนแต้จิ๋ว 阿膠 (Ā Jiāo) เป็นยาแผนจีนที่เป็นเจลาตินที่สกัดจากหนังลา มีการใช้เป็นเวลาหลายพันปีในประเทศจีนและส่วนอื่น ๆ ของเอเชียเพื่อประโยชน์ต่อสุขภ...
-
อิมเอี่ยขัก หรืออินหยางฮั่ว YIN YANG HUO 淫羊藿 ชื่อละติน : Herba Epimediiชื่อสามัญ : Epimedium , Horny Goat Weed Leaf จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงหยาง คุณลักษณะของสมุนไพร ตามหลักการแพท...
-
เอี่ยเซียม 西洋參 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Panacis Quinquefoliiชื่อสามัญ : American Ginseng Root โสม มีหลายสายพันธุ์แตกต่างกันตามแหล่งที่เกิด แต่มีสิ่งร่วมกันคือ มี “จินเซโนไซด์&...
-
เอี่ยกำเก็ก 洋甘菊 มีชื่ออื่นๆว่า German chamomile, wild chamomile, Hungarian chamomile, pineapple weed. คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีนคือ รสหวาน ขมเล็กน้อย ฤทธิ์กลาง ออกฤทธิ์ตามเส้นล...
-
หวงเหลียน หรืออึ่งโน้ย ในสำเนียงจีนแต้จิ๋ว คุณสมบัติ รสขม ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของหัวใจ ลำไส้ใหญ่ ตับ กระเพาะอาหาร (ถุงน้ำดี, ม้าม) ขนาดการใช้ ครั้งละ 1.5 - 10 กรัม กลไกก...
- >> คอเลสเตอรอล << ฤทธิ์ลดระดับคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเมล็ดลูกซัด 14/10/13 พบว่าเฉพาะสารสกัดเอทิลอะซิเตรท มีผลลดระดับคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และไขม...
-
ชื่อสามัญ Egg Woman, Tamalaki, Hazardana, Stonebreaker, Seed-under-leaf ชื่อวิทยาศาสตร์ Phyllanthus amarus Schumach. & Thonn สรรพคุณ หญ้าลูกใต้ใบ-ทั้งต้น รสขมจัด แก้ไข้ทุกชนิด...
-
กระเจี๊ยบเขียว : กลูตาไทโอนริมรั้ว ชื่อสามัญ Okra, Lady’s Finger, Gombo, Gumbo, Bendee, Quimbamto ชื่อวิทยาศาสตร์ Abelmoschus esculentus (L.) Moench จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACE...
-
ชื่อสามัญ : Garlicชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium sativum L. จัดอยู่ในวงศ์พลับพลึง (AMARYLLIDACEAE) และอยู่ในวงศ์ย่อย ALLIOIDEAE (ALLIACEAE)ชื่ออื่นๆ : หอมเทียม(เหนือ),ปะเซ้วา(แม่ฮ่องสอน)...
-
กระเจี๊ยบแดง Jamaican Sorel, Roselleชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L.วงศ์ : Malvaceae ชื่ออื่น : กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบเปรี้ย ผักเก็งเค็ง ส้มเก็งเค็ง ส้มตะเลงเครง สรรพคุณ : กระ...
-
ขิง Ginger ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber officinale Roscoe จัดอยู่ในวงศ์ขิง (ZINGIBERACEAE) สรรพคุณ เหง้า : รสหวานเผ็ดร้อน ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อ คลื่นไส้อาเจียน แก้หอบไอ...
-
ปลาไหลเผือก ชื่อวิทยาศาสตร์ Eurycoma longifolia Jack จัดอยู่ในวงศ์ปลาไหลเผือก (SIMAROUBACEAE) รากปลาไหลเผือก รสขมเมาเย็นเล็กน้อย ถ่ายพิษต่างๆ,ถ่ายฝีในท้อง,ถ่ายพิษไข้ พิษเสมหะและโลห...
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tiliacora triandra (Colebr.) Diels วงศ์ : Menispermaceae ชื่อสามัญ : Bamboo grass ชื่ออื่น : จ้อยนาง (เชียงใหม่) เถาย่านาง เถาวัลย์เขียว (กลาง) ยาดนาง (สุราษฎร์ธา...
-
รางจืด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Thumbergia laurifolia Lindl. วงศ์ : Acanthaceaeชื่ออื่น : กำลังช้างเผือก ขอบชะนาง เครือเขาเขียว ยาเขียว (ภาคกลาง) คาย รางเย็น (ยะลา) จอลอดิเออ ซั้งกะ ปั้งก...
-
สำหรับผู้ที่มีกระเพาะปลาตกทอดมาตั้งแต่สมัยอากงอาม่า ต้องการจะนำมารับประทาน ปัญหาหนึ่งที่มักพบก็คือ ไม่รู้จะหั่นยังไง ครั้นจะนำไปให้ร้านขายยาหั่นให้ ร้านขายยาจีนสมัยนี้ก็เหลือน้อยเต...
-
สมุนไพรจีน ที่ทราบกันดีว่าส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดและพลังชี่: ตังกุย (Angelica Sinensis): ตังกุยมักใช้ใน การแพทย์แผนจีน เพื่อบำรุงและกระตุ้นเลือด มักใช้เพื่อรักษาภาวะขาดเลือดและ...