การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศในทัศนะการแพทย์แผนจีน

ในทางการแพทย์แผนจีน การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศของผู้ชาย (หมายถึงอวัยวะเพศชายไม่สามารถแข็งตัว หรือแข็งตัวไม่ได้ตลอดช่วงเวลาที่มีเพศสัมพันธ์) และการหลั่งเร็ว (หมายถึงช่วงเวลาที่มีเพศสัมพันธ์ สั้นกว่าปกติ) นั้นมีความใกล้เคียงกัน การหลั่งเร็วถือว่าเป็นอาการเบื้องต้นของการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

การแพทย์แผนจีนสมัยโบราณเชื่อว่า เหตุแห่งการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศนั้น มีสาเหตุมาจากการตรากตรำงานหนัก, ไตพร่อง และตับทำงานผิดปกติ

ตับทำงานผิดปกติ มีผลต่ออาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศด้วย เพราะตับควบคุมเส้นเอ็น และเพราะว่า เส้นลมปราณของตับ มีเส้นทางไหลเวียนผ่านบริเวณอวัยวะเพศ และควบคุมกิจกรรมเกี่ยวกับเพศด้วย

หากเส้นเอ็นผิดปกติ ย่อมส่งผลถึงการแข็งตัวของอวัยวะเพศชาย และหากไม่สามารถส่งพลัง”ชี่”ไปบำรุงเลี้ยงอวัยวะเกี่ยวกับเพศตามที่เส้นลมปราณของตับพาดผ่าน อวัยวะเหล่านั้นย่อมอ่อนแรง และเสื่อมสมรรถภาพในที่สุด ความเสียหายจากกิจกรรมทางเพศที่มากเกินไปจะนำไปสู่การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ หากเกิดความเสียหายจากความเย็นรุกราน จะนำไปสู่การหดสั้นลงอวัยวะเพศ และหากเกิดความเสียหายจากตวามร้อนรุกรานจะนำไปสู่ การแข็งตัวของอวัยวะเพศเป็นเวลานาน

การแพทย์แผนจีนในสมัยใหม่ ค้นพบว่า นอกจากปัญหาที่ไตและตับแล้ว ยังมีสาเหตุอื่นที่ทำให้เกิดอาการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ พบว่า ม้าม หัวใจ และอารมณ์ มีผลต่อโรคเสื่อมสมรรถภาพทางเพศด้วย

 

สาเหตุที่อาจทำให้เกิดการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศของผู้ชายในทางการแพทย์แผนจีน มีดังนี้

1. ความอ่อนแรงของ”ไฟมิ่งเหมิน"

“ไฟมิ่งเหมิน” คือหยางของไต
ความอ่อนแรงของไฟมิ่งเหมินก็คือสภาพผิดปกติที่เกิดจาก หยางของไตพร่องอย่างรุนแรง ทำให้ไตไม่สามารถสร้างความอบอุ่นให้กับทั่วร่างกายให้เริ่มทำกิจกรรมของแต่ละอวัยวะนั้นๆ ส่งผลให้ระดับกิจกรรมของอวัยวะต่างๆทั่วร่างกาย อยู่ในระดับต่ำกว่าปกติ รวมไปถึงกิจกรรมทางเพศด้วย
เกิดขึ้นจาก การมีเพศสัมพันธ์มากเกินไป ช่วยตัวเองบ่อยเกินไป ล้วนเป็นเหตุให้ สารจำเป็น"จิง" และเลือดสูญเสีย ซึ่งก็คือการสูญเสีย"หยาง"ของไต ซึ่งนำไปสู่การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

 

2. ความกลัว และความตกใจ ทำให้ไตเสียหาย

แพทย์แผนจีนเห็นว่า อารมณ์มีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับอวัยวะ อารมณ์สามารถทำให้อวัยวะเกิดการเปลี่ยนแปลงได้
ความกลัว ทำให้พลัง"ชี่" ไหลเวียนอย่างไร้ระเบียบ
ความตกใจ ทำให้พลัง"ชี่"ลดลง
อารมณ์เหล่านี้ ทำให้ไตทำหน้าที่ผิดปกติ ซึ่งนำไปสู่การเสื่อมสมรรถภาพทางเพศ

 

3. ความอ่อนแรงของตับ

หน้าที่หนึ่งของตับคือปรับสมดุลอารมณ์
อารมณ์ที่เป็นปกติ เกิดจากความสอดประสานกันของ พลัง"ชี่" และเลือด ที่ไหลอย่างราบรื่น หากตับทำหน้าที่ให้การไหลเวียน และระบายพลัง"ชี่" และเลือด อย่างถูกต้อง ทำให้เกิดการผ่อนคลาย และอารมณ์ที่เป็นปกติ

หากมีอารมณ์โกรธ ไม่พอใจ ทำให้พลัง"ชี่"ของตับอ่อนแรง ไม่เคลื่อนไหว ส่งผลต่อเส้นลมปราณของตับ ไม่สามารถบำรุงเลี้ยงเส้นเอ็น และอวัยวะที่เส้นลมปราณนี้พาดผ่าน ซึ่งรวมไปถึงอวัยวะเกี่ยวกับเพศด้วย ส่งผลให้เกิดการเสื่อมสมรรถภาพ

 

4. ม้ามและหัวใจพร่อง

ตามหลักการแพทย์แผนจีน ความคิดของคนเรา เกิดจากม้าม และหัวใจ การใช้ความคิดมาก ทำให้สิ้นเปลืองพลัง"ชี่" และเลือดของหัวใจ และหน้าที่การแปลงสภาพ และการขนส่งสารเหลว กระทำโดยม้าม
การพร่องของพลัง"ชี่" และเลือด จะลุกลามไปสู่การพร่องของสารจำเป็น"จิง" ที่จะใช้แปลงสภาพไปสู่อสุจิ และพลังที่จะทำให้อวัยวะเพศแข็งตัว


5. ความ "ชื้น-ร้อน" รุกรานร่างกายส่วนล่าง

สาเหตุที่ความ “ชื้น-ร้อน” จะรุกรานนั้นเกิดได้จาก
1) การรับประทานอาหารที่มันเลี่ยน หรือการรับประทานอาหารมากเกินไป ทำให้เกิดความร้อนส่วนเกินคุกคามในกระเพาะอาหาร
2) การอยู่ในสภาวะที่ชื้น ทำให้เกิดความ "ชื้น" คุกคามได้ง่าย

เมื่อความ "ชื้น-ร้อน" สะสมในระบบย่อยอาหาร จะทำให้ตับและถุงน้ำดีทำงานด้อยลง และนำไปสู่การรุกรานของ"ชื้น-ร้อน"ลงไปตามเส้นลมปราณของตับ สู่ถุงอัณฑะ และนำไปสู่การเสื่อสมรรถภาพทางเพศ


6. การอุดตันจากเลือดคั่ง

เกิดจากการผ่าตัด, การบาดเจ็บภายนอก หรือการถูกเชื้อโรคโจมตีเป็นเวลานาน
ทั้งหมดนี้ หากเกิดในบริเวณฝีเย็บ ส่งผลให้เกิดการอ่อนแรงของพลัง"ชี่" และเลือดในบริเวณนั้น ความอ่อนแรงเป็นเวลานาน ทำให้อวัยวะเพศชายขาดการบำรุงเลี้ยงที่เพียงพอ และทำให้เสื่อมสมรรถภาพในที่สุด

 

 วิธีสังเกตอาการด้วยตนเอง 

• สารจำเป็น“จิง” หรือก็คือ “อิน” ของไตพร่อง มีอาการคอแห้ง ปวดเอว หูอื้อ มือเท้าร้อน เหงื่อออกกลางคืน หลงลืม โหนกแก้มแดง ลิ้นแดง ฝ้าน้อยและแห้ง

• หยางของไตพร่อง มีอาการ หน้าซีด เมื่อยเอวและขา กลัวหนาว ลิ้นสีซีดฝ้าขาว

• ชี่คั่งที่ตับ มีอาการแน่นสีข้าง ลิ้นแดง มีฝ้าบางๆ

• หัวใจ และม้ามพร่อง มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ อุจจาระเหลว หัวใจเต้นผิดจังหวะ

• ความ “ชื้น-ร้อน” คุกคามร่างกายส่วนล่าง มีอาการ เจ็บขัดในท่อปัสสาวะ ปัสสาวะสีเหลืองเข้ม ถุงอัณฑะชื้นคัน ลิ้นแดงมีฝ้าสีเหลือง

• เลือดคั่ง มีอาการเจ็บที่อวัยวะเพศ หรือปวดบริเวณฝีเย็บ หรือร่างกายส่วนล่าง ลิ้นสีม่วง บางครั้งมีรอยช้ำเป็นจ้ำๆ

โดยมีอาการข้างต้นนี้ ร่วมกับการเสื่อมสมรรถภาพทางเพศร่วมด้วย

อย่างไรก็ตาม นี่เป็นเพียงวิธีการสังเกตอาการด้วยตนเอง แต่ถ้าต้องการความแน่นอน ต้องใช้วิธีการจับชีพจรโดยแพทย์แผนจีนผู้เชี่ยวชาญ เพื่อการวิเคราะห์หาสาเหตุที่แม่นยำมากขึ้น

 

 แนวทางการรักษา 

ส่วนใหญ่ของผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเสื่อมสมรรถภาพ ปัญหามักจะอยู่ที่ไต รองลงมาก็คือปัญหาจากตับ

ในการรักษาด้วยยาแผนจีนนั้น ต้องจำแนกสาเหตุเบื้องต้นให้ได้ก่อนว่า

  • มีปัญหาจากอวัยวะส่วนใด ไต หรือ ตับ หรือม้ามและหัวใจ หรือความ”ชื้น-ร้อน” แล้ว
  • ยังต้องจำแนกอาการให้ออกด้วยว่า เป็นอาการของ"หยาง" หรืออาการของ"อิน" (หรือที่เรียกกันว่าหยิน นั่นเอง)
  • เป็นการ”พร่อง” (คืออาการขาด) หรือการ ”แกร่ง” (คืออาการมากเกิน)

หากเป็นอาการที่เกิดจากสารจำเป็น”จิง”พร่อง ก็คืออาการของ “อิน”-Yin พร่อง ต้องเสริม “อิน”
หากเป็นอาการที่เกิดจากพลัง”ชี่” พร่อง ก็คืออาการของ”หยาง”-Yang พร่อง ต้องเสริม “หยาง”

“หยาง” มีลักษณะ ร้อน แห้ง แต่ “อิน” มีลักษณะ เย็น ชื้น

ถ้าเป็นอาการ”อิน”พร่อง แต่รับประทานยาเสริม “หยาง” ทำให้ร่างกายยิ่งสูญเสีย”อิน”
หรือหากว่าเป็นอาการ “หยาง”พร่อง แต่รับประทานยาเสริม “อิน” กลับจะทำให้ร่างกายเย็นชื้นมากขึ้น
ยาที่ระบุสรรพคุณว่ารักษาการเสื่อมสมรรถภาพ จึงไม่ได้ผลสำหรับสำหรับคนนั้น

การจำแนกสาเหตุของอาการ จึงสำคัญสำหรับการรักษาตามแนวทางการแพทย์แผนจีน


  • ดับพิษหน้าร้อน (1).jpg
    ในทัศนะการแพทย์แผนจีน ความร้อนเป็นปัจจัยก่อโรคภายนอก ที่สามารถรุกรานเข้าสู่ร่างกาย การสัมผัสอากาศร้อนนานๆ ทำให้พลังชี่ที่เป็นพลังต้านทานปัจจัยก่อโรคลดลง เมื่อความร้อนที่เป็นปัจจัยก...

  • aging.jpg
    ความเสื่อมของร่างกาย หรือความชรา ได้รับอิทธิพลจากปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอก อาการต่างๆที่เป็นสัญญาณของความชรา ได้แก่ ผิวหย่อนคล้อย มีริ้วรอยและร่องลึก ผมบาง แห้งเปราะ สีผมเริ่มอ่อ...

  • เหงื่อออกกลางคืน.jpg
    เหงื่อออกกลางคืน แม้อากาศไม่ร้อน อาจหมายถึงหยินพร่อง หากคุณมักตื่นนอนกลางดึก แล้วพบว่ามีเหงื่อออกแม้ว่าอากาศจะไม่ร้อน นั่นอาจหมายถึงอาการของหยินของไตพร่อง หยินหมายถึงอะไร ในทางการแ...

  • หยินพร่อง-นอนไม่หลับ.jpg
    ตามหลักการแพทย์แผนจีน หยินและหยาง เป็นพลังสองด้านที่ขัดแย้งกันซึ่งช่วยสร้างความสมดุลและควบคุมพลังงานของร่างกาย หยินเป็นด้านที่เย็น ชุ่มชื้น และหล่อเลี้ยง ในขณะที่หยางเป็นด้านที่ร้อ...

  • ความจริงของระบบย่อย (1).jpg
    การแพทย์แผนจีน มีมุมมองบางอย่างเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ที่แตกต่างจากการแพทย์แผนปัจจุบัน เปรียบได้กับการอยู่ในบ้านแแล้วมองโลกภายนอกผ่านหน้าต่างคนละบานไปยังจุดเดียวกัน ภาพที่เห็นย่อมไม...

  • ร้อนวูบวาบ.jpg
    อาการร้อนวูบวาบในวัยหมดประจำเดือน วัยหมดประจำเดือนเป็นกระบวนการตามธรรมชาติของวัยที่เกิดขึ้นเมื่อสารสำคัญของไตไม่สามารถรองรับการทำงานของระบบสืบพันธุ์ได้อีกต่อไป ในทัศนะการแพทย์แผนจี...

  • ผิวสวย-บำรุงเลือด.jpg
    ตามแนวทางของ การแพทย์แผนจีน การบำรุงเลือดและพลังชี่ จะส่งผลต่อผิวหนัง เนื่องจากเลือดและชี่มีความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกับสุขภาพของผิวหนัง ชี่และเลือดพึ่งพาอาศัยกันและช่วยเหลือซึ่งกัน...

  • โรคเมื่อโดนฝน-ข้อปฏิบัติ.jpg
    หลังจากตากฝน คุณสามารถปฏิบัติตามแนวทางการดูแลตนเองจากแนวทางการแพทย์แผนจีน เพื่อช่วยคืนความสมดุลและป้องกันปัญหาสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น แนวทางปฏิบัติด้วยตนเองของ การแพทย์แผนจีน ที่ควรพิ...

  • โรคเมื่อโดนฝน.jpg
    ในการแพทย์แผนจีน การสัมผัสกับฝนและความชื้น ซึ่งเป็นปัจจัยก่อโรคภายนอก ที่สามารถนำไปสู่ปัญหาสุขภาพต่างๆ ฤดูฝน เช่น โรคไข้หวัดและไข้หวัดใหญ่ การสัมผัสกับฝนและสภาพอากาศหนาวเย็นทำให้กา...

  • menopause.jpg
    วัยหมดประจำเดือนเป็นกระบวนการทางชีววิทยาตามธรรมชาติซึ่งเป็นจุดสิ้นสุดของวัยเจริญพันธุ์ของผู้หญิง โดยทั่วไปจะเกิดขึ้นระหว่างอายุ 45 ถึง 55 ปี โดยเฉลี่ยหญิงไทยอายุเฉลี่ยที่จะเข้าสู่ว...

  • หยางไตพร่อง.jpg
    ตามหลักการแพทย์แผนจีน ไตถือเป็นต้นตอของพลังหยินและหยางในร่างกาย มีความเกี่ยวข้องกับธาตุน้ำและมีหน้าที่จัดเก็บและควบคุมสารสำคัญที่สำคัญของร่างกายหรือที่เรียกว่า "จิง" ซึ่งเป็นรากฐาน...

  • โรคอ้วน.jpg
    ในทัศนะการแพทย์แผนจีน โรคอ้วนแบ่งออกเป็นรูปแบบใหญ่ๆ ตามอาการของแต่ละบุคคลได้ดังนี้ 1. พลังชี่ของม้ามพร่อง: รูปแบบนี้เป็นลักษณะของการย่อยอาหารและการเผาผลาญที่ไม่ดี นำไปสู่การสะสมของ...

  • อักเสบหลังผ่าตัด.jpg
    ในทัศนะการแพทย์แผนจีน การอักเสบหลังการผ่าตัดถือเป็นการหยุดชะงักของ ชี่(พลัง) ในร่างกายและการไหลเวียนของเลือด ส่งผลให้เกิดความร้อนและความอ่อนล้า การแพทย์แผนจีน มีจุดมุ่งหมายเพื่อจัด...

  • หยินของไตพร่อง.jpg
    หยินของไต เป็นแนวคิดใน การแพทย์แผนจีน ที่หมายถึงความเย็น ความชุ่มชื้น และการหล่อเลี้ยง ไตในการแพทย์แผนจีน ไม่เพียงแต่เป็นอวัยวะที่กรองปัสสาวะเท่านั้น แต่ยังเป็นแหล่งของสารสำคัญของช...

  • เลือดพร่อง 血虚.gif
    เลือดพร่อง ตามหลักการแพทย์แผนจีน เลือดที่ดีมีคุณภาพมาจากปัจจัยหลายประการ คือ 1) อาหารที่รับประทานเข้าไป2) การทำงานหรือพลังของม้ามและกระเพาะอาหาร ซึ่งทำหน้าที่เกี่ยวกับการย่อยอาหารแ...

  • ม้ามพร่อง.jpg
    ในทัศนะการแพทย์แผนจีน ม้ามถือเป็นอวัยวะสำคัญในระบบย่อยอาหาร และมีบทบาทสำคัญในระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย เปลี่ยนอาหารให้เป็นเลือดและพลังงาน และขนส่งไปหล่อเลี้ยงอวัยวะและเนื้อเยื่อของ...

  • ปอดพร่อง.jpg
    เมื่อปอดทำงานลดลง จะส่งผลต่อการหายใจ การวิจัยทางการแพทย์สมัยใหม่แสดงให้เห็นว่าอายุขัยของบุคคล นั้นสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดกับขนาดของความจุของปอดซึ่งเป็นหนึ่งในสัญญาณบ่งชี้สุขภาพและพ...

  • สมุนไพรที่ใช้กับเบาหวาน.jpg
    สมุนไพรที่ใช้เกี่ยวกับเบาหวานนั้น มีหน้าที่หรือกลไกการออกฤทธิ์ในหลายลักษณะ สมุนไพรบางชนิดจะมีฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือด เช่น มะระขี้นก,คาโมไมล์,ทับทิม,ว่านหางจระเข้,หญ้าหนวดแมว,อบเชย,มะ...

  • ในทัศนะการแพทย์แผนจีน ความดันโลหิตสูง เป็นสัญญาณแสดงความผิดปกติของร่างกาย บ่งชี้ถึงความสามารถในการควบคุมร่างกายของตัวเองต่ำ อันมาจากอิทธิพลอื่น การแพทย์แผนจีนมองว่า วิถีชีวิตแบบไม่...

  • ขมิ้นชัน-แผลในกระเพาะ.jpg
    ขมิ้นชันเป็นสมุนไพรที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ มีการศึกษาพบว่าสามารถยับยั้งการเติบโตของเชื้อ H. pylori ที่เป็นสาเหตุของโรคแผลเป๊ปติกได้ บางการศึกษาพบว่าการใช้ขมิ้นชันแคปซูล 600 มิลลิก...

  • PMS.jpg
    PMS (Premenstrual Syndrome) คือกลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือนของสตรี ตามแพทย์แผนจีน PMS มักมีสาเหตุมาจากความไม่สมดุลของพลังงานในร่างกายหรือ ชี่(พลัง) (อ่านว่า "ชี่") การแพทย์แผนจีน มอง...

  • ปวดเอวจากไตอ่อนแอ1.jpg
    เมื่อมีอาการปวดเอว หลายๆคนจะคิดถึงอาการเกี่ยวกับไตเป็นอันดับแรก ในความเป็นจริง อาการปวดเอวไม่ใช่ทุกกรณีที่เกี่ยวข้องกับภาวะไตพร่องหรือไตอ่อนแอ ในทัศนะการแพทย์แผนจีน อาการปวดเอวมีสา...

  • หวัดในทางการแพทย์แผนจีน2.jpg
    อาการต่างๆของโรคหวัด เกิดเมื่อพลังของร่างกายต่อสู้กับเหตุแห่งโรคที่รุกล้ำเข้ามา เมื่อเป็นหวัด ในทางการแพทย์แผนจีน จะต้องแยกแยะก่อนว่าเป็นหวัดแบบไหน ซึ่งจำแนกจากที่เป็นกันบ่อยในบ้าน...

  • ปวดส้นเท้า.jpg
    หยินของไตพร่อง และอาการปวดส้นเท้า ในการแพทย์แผนจีน (การแพทย์แผนจีน) อาการปวดส้นเท้าอาจเป็นอาการของภาวะขาดหยิน ซึ่งหมายถึงความไม่สมดุลของพลังงานหยินและหยางในร่างกาย หยินและหยางเป็นพ...

  • ไต-หน้าที่ของไต.jpg
    ในทางการแพทย์แผนจีน ไตมิได้มีความหมายเพียงแค่อวัยวะที่มีรูปร่างคล้ายเมล็ดถั่วเท่านั้น หากแต่หมายถึงระบบการทำหน้าที่ที่กว้างขวาง ไตในทัศนะการแพทย์แผนจีน มีหน้าที่สำคัญคือ 1.จัดเก็บส...

  • ดื่มชาในช่วงมีประจำเดือน.jpg
    ในช่วงมีประจำเดือน ผู้หญิงจะสูญเสียเลือดมากกว่าปกติ องค์ประกอบหลักของร่างกายมนุษย์ในการสังเคราะห์เลือดคือธาตุเหล็ก ในขณะที่ชามีกรดแทนนิก (Tannic acid) ที่ค่อนข้างสูง ซึ่งกรดแทนนิกจ...

  • เบาหวานในทัศนะการแพทย์แผนจีน ในตำราการแพทย์แผนจีนคลาสสิก “หวงตี้เน่ยจิง” ที่เขียนขึ้นในสมัยราชวงศ์ฮั่น (ประมาณ 200 ปีก่อนคริสต์ศักราช) กล่าวถึงโรคเบาหวาน ในอาการ " xiao ke " และ "f...

  • ไขมันพอกตับ.jpg
    ไขมันพอกตับ ในศาสตร์การแพทย์แผนจีน ตามแพทย์แผนจีน ไขมันพอกตับมักเกี่ยวข้องกับภาวะที่เรียกว่า "ความร้อนชื้นในตับและถุงน้ำดี" ภาวะนี้เชื่อว่าเกิดจากความไม่สมดุลของพลังงานในร่างกายหรื...

  • จุดมุ่งหมายในการดูแลผู้ป่วยความดันโลหิตสูง 1. ลดระดับความดันโลหิตสูงให้อยู่ในระดับปกติ 2. ป้องกันภาวะแทรกซ้อนที่จะเกิดตามมาจากภาวะความดันโลหิตสูง เช่น อัมพาต โรคหลอดเลือดหัวใจ ไตวา...

  • จุดกดนอนหลับ.jpg
    นอนไม่หลับ นอกจากจะทำให้ร่างกายไม่ได้พักผ่อนแล้ว การต้องลืมตาตื่นในความเงียบสงบอยู่คนเดียว ยังทำให้จิตใจเตลิดฟุ้งซ่านได้ จึงเป็นความทรมานทั้งกายและใจ มีหลายวิธีที่จะช่วยผ่อนคลายทำใ...

  • กรดไหลย้อน - ตำรับยา.jpg
    กรดไหลย้อนเป็นผลมาจากกรดในกระเพาะไหลท้นขึ้นสู่หลอดอาหาร กรดนี้ทำให้เกิดอาการไหม้ลึกลงไปในช่องท้องใต้กระดูกหน้าอก กรดไหลย้อนอาจเรียกว่า GERD (Gastro-Esophogeal Reflux Disease) หรือ ...

  • เมาค้าง.jpg
    เมาค้างคือ อาการเมาค้างที่มักเกิดขึ้น ได้แก่ เหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้า ปวดศีรษะ ไวต่อแสงและเสียงรบกวน ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ คลื่นไส้อาเจียน ท้องเสีย สั่น กระหายน้ำ ตาแดง เป็นต้น สาเหตุ ก...

  • กลุ่มอาการก่อนมีประจำเดือนที่พบบ่อย สามารถแบ่งได้เป็นสองกลุ่มคือ กลุ่มอาการทางอารมณ์ และกลุ่มอาการทางร่างกาย กลุ่มอาการทางอารมณ์ เช่น ซึมเศร้า อารมณ์เสีย กระสับกระส่าย อ่อนเพลีย ก...

  • ตาแห้ง-แก้ด้วยแผนจีน.jpg
    ตาแห้ง เกิดขึ้นได้เมื่อน้ำตาหลั่งไม่เพียงพอหรือระเหยเร็วเกินไปสาเหตุได้แก่ อายุมากขึ้น เพศ (หญิง) โรคภูมิคุ้มกัน เบาหวาน การผ่าตัดด้วยเลเซอร์ตา การใช้ยาบางอย่าง (เช่น ยาแก้แพ้ ยากล...

  • สมุนไพรบำรุงหยางของไต.jpg
    ยาบำรุงหยางของไตที่สำคัญคือเขากวาง ทั้งเขากวางอ่อนและเขากวางแก่ และอีกชนิดหนึ่งก็คือ จีห่อเชีย นอกจากนี้ ยังมีสมุนไพรอีกหลายชนิดที่ช่วยบำรุงไต คือ โป่วกุกจี จั่วฉึ่งจี้ (ลูกผักชีล...

  • อาหารไม่ย่อย-cover.jpg
    ประเภทของอาหารไม่ย่อยตาม การแพทย์แผนจีน ในการแพทย์แผนจีน อาหารไม่ย่อยมักถูกจำแนกออกเป็นประเภทต่างๆ ตามสาเหตุของอาการ อาจจำแนกเป็นประเภทใหญ่ๆได้ดังนี้ ม้ามและกระเพาะอาหารพร่อง: อาห...

  • จุดกดลดปวดหัว.jpg
    เวียนหัว ปวดหัว แต่ไม่อยากใช้ยา ทำไงดี วันนี้ เรามีวิธีนวดกดจุด แก้ปวดหัวเวียนหัวมาฝาก ♦️ จุดเฟิงฉือ 风池ตำแหน่ง : อยู่ด้านหลังศีรษะเริ่มจากหูไล่ไปข้างหลังจะพบรอยนูนของกระดูก จุดเฟิง...

  • ตำรับจีนสู้ Long Covid.jpg
    สภาวะหลังโควิด จากข้อมูลขององค์การอนามัยโลก ภาวะหลังโควิด-19 (หรือที่เรียกว่า Long Covid) คือกลุ่มอาการระยะยาวที่พบในผู้ที่มีประวัติติดเชื้อโควิด-19 อาการเหล่านี้จะคงอยู่อย่างน้อ...

  • สมุนไพรบำรุงเลือดหลังคลอด กระเพาะปลา 鱼鳔 สมุนไพรบำรุงเลือดที่ชาวจีนนิยมให้หญิงหลังคลอดรับประทานคือกระเพาะปลา 鱼鳔 กระเพาะปลา โดยเฉพาะกระเพาะปลาเก่า ตำราแพทย์แผนจีนกล่าวว่า กระเพาะปลาม...

  • จุดกดลดคัดจมูก_v2.jpg
    วันนี้เรามีวิธีบำบัดอาการคัดจมูกน้ำมูกไหลด้วยตัวเอง ตามแนวทางการแพทย์แแผนจีนด้วยการกดจุดมาฝาก จุดไป่ฮุ่ย 百会 Baihuiตำแหน่ง เป็นจุดตัดระหว่างเส้นกลางศีรษะและเส้นลากระหว่างปลายหูทั้ง...

  • FAQ Blood.png
    เลือดพร่อง - คำถามที่พบบ่อย เลือดพร่อง มีอาการอย่างไร สาเหตุของการเกิดเลือดพร่องแต่ละกลุ่ม จำแนกได้อย่างไรว่า เลือดพร่องในกลุ่มอาการไหน หลักการรักษาเลือดพร่อง ทำไมจึงต้องบำรุงพลัง...

  • ร้อนใน.jpg
    ร้อนใน เป็นอาการที่มักเกิดขึ้นได้กับผู้ที่ตรากตรำงานหนัก อดนอน ท้องผูก ทานอาหารฤทธิ์ร้อนเป็นประจำ หรือแม้แต่การอยู่ในที่มีอากาศร้อน สัญญาณ ของอาการร้อนใน ที่เรารู้กันทั่วไปคือ การเ...

  • กรดไหลย้อน.jpg
    กรดไหลย้อนหรือ gastroesophageal reflux disease (GERD) เกิดขึ้นเมื่อกรดในกระเพาะอาหารไหลขึ้นสู่หลอดอาหาร ทำให้เกิดความเจ็บปวดร้อนในหน้าอก และอาจทำลายหลอดอาหาร การแพทย์แผนจีน มีคำแนะ...


  • หวัด-แพ้อากาศ.jpg
    แพ้อากาศ แม้จะมีอาหารน้ำมูกไหล แต่ก็ไม่ใช่โรคหวัด เรามาดูความแตกต่างระหว่างสองโรคนี้กันหวัด เกิดจากการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ ทำให้มีอาการ ไอ จาม คัดจมูก น้ำมูกไหล ไข้ เจ็บคอ อ...

  • การจำแนกการพร่องของไต.jpg
    ไต 肾ในทัศนะการแพทย์แผนจีน มีความสำคัญไม่เพียงแค่เป็นส่วนหนึ่งของระบบขับถ่ายปัสสาวะเท่านั้น ในทางการแพทย์แผนจีน "ไต" มีความเกี่ยวข้องกับระบบต่างๆทั่วร่างกาย คล้ายๆกับเป็นคลังเสบียง ...

  • จุดกดปรับสมดุลประจำเดือน.jpg
    การกดจุดเหล่านี้ จะช่วยปรับประจำเดือนให้ค่อยๆกลับสู่สภาวะสมดุล เป็นการดูแลสุขภาพตัวเองด้วยปลายนิ้ว จุดซานอินเจียว 三阴交 ตำแหน่ง อยู่ใกล้กับข้อเท้าด้านใน เหนือตาตุ่ม 3 นิ้ว เมื่อกดจะป...

  • 2016-11-12-22-44-21.jpg
    กระเพาะปลา เป็นอาหารจากท้องทะเลเลื่องชื่อระดับ"บิ๊กโฟร์" ที่ได้ขึ้นโต๊ะอาหารงานเลี้ยงรับรองในงานพิธีสำคัญของจีน ร่วมกับ หูฉลาม หอยเป๋าฮื้อ และปลิงทะเล อย่างไรก็ตาม กระเพาะปลาในที่น...

  • โภชนาการเพื่อแก้ไขอาการนอนไม่หลับ.jpg
    อาการนอนไม่หลับสามารถเกิดขึ้นได้จากหลายสาเหตุรวมถึงความเครียด ปัญหาสุขภาพและการเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิต อาหารที่สมดุลจะช่วยให้ร่างกายทำงานได้ดีทำให้คุณหลับเร็วขึ้นและลึกขึ้น อาหารบางอย...

  • 10 วิธีปกป้องผู้สูงอายุจากการหกล้ม.jpg
    การหกล้มของผู้สูงอายุ อาจนำไปสู่การบาดเจ็บที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพและการใช้ชีวิตปกติของผู้สูงอายุ ในความเป็นจริง การล้มเป็นสาเหตุการบาดเจ็บและการเสียชีวิตของผู้สูงอายุ แม้จะไม่มีวิธี...

  • จิงชี่.jpg
    "จิง-ชี่" 精气 สารจำเป็นแห่งชีวิต ไต 肾 มีหน้าที่สำคัญหลายประการ แต่หน้าที่หนึ่งที่สำคัญมากก็คือ เป็นที่เก็บสะสมสารจำเป็นแห่งชีวิต คือสาร”จิง” 精 และพลัง”ชี่” 气...

  • สำหรับคุณสุภาพสตรีที่มักมีอาการท้องอืดในช่วงมีประจำเดือน สามารถบรรเทาอาการท้องอืดได้ด้วยการกดนวดที่จุดต่อไปนี้ จุดเหอกู่ 合谷穴 ใช้นิ้วหัวแม่มือกดบนจุดเหอกู่ นาน 3-5 วินาที แล้วพัก 2...

  • Charting.jpg
    Charting การวัดอุณหภูมิ เพื่อหาวันไข่ตก วิธีหนึ่งที่จะช่วยเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์ก็คือ การสามารถกำหนดวันเที่ไข่ตก ด้วยการวัดอุณหภูมิของร่างกาย แล้วพล๊อทเป็นกราฟทุกวัน จากกราฟนี้ ค...

  • จิง ชี่ เสิ่น 2.jpg
    การทำงานของร่างกาย ในสุขภาพทางเพศที่เป็นปกติ "จิง-ชี่" 精气 สารจำเป็นแห่งชีวิต ไต 肾 มีหน้าที่สำคัญหลายประการ แต่หน้าที่หนึ่งที่สำคัญมากก็คือ เป็นที่เก็บสะสมสารจำเป็นแห่งชีวิต คือสาร...

  • 12 สิ่งควรทำเมื่ออายุ 50.jpg
    เมื่อคุณอายุพ้นหลักสี่ย่างเข้าสู่ห้าแยก คุณจะเริ่มสังเกตเห็นการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของร่างกายของคุณ อายุครบ 50 ปี นั่นหมายความว่าคุณมีประสบการณ์ชีวิตมากมาย คุณรู้ว่าคุณชอบอะไรและไม...

  • 2016-12-22-22-57-02.jpg
    การแพทย์แผนจีน มองว่าร่างกายและจิตใจมีความเชื่อมโยงกันและได้รับอิทธิพลจากสภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ แพทย์แผนจีนมีแนวทางด้านสุขภาพการเจริญพันธุ์แบบองค์รวม การเจริญพันธุ์ก็เช่นกัน ได้รับ...

  • หญิงหลังคลอด ตามหลักการแพทย์แผนจีน ช่วงเวลาหลังคลอดของหญิง หมายความถึงช่วงเวลาหลังคลอด 4 เดือน อย่างไรก็ตาม ช่วงเวลาหนึ่งเดือนแรกหลังคลอด จะเป็นเป็นเวลาที่สำคัญที่สุด และอาจมีผลต่อ...

  • Menopause_TCM.jpg
    การมีประจำเดือน การตั้งครรภ์ การคลอดบุตร และการให้นมบุตรนั้นเป็นหน้าที่เฉพาะในสตรีเท่านั้น วัยหมดประจำเดือนหมายถึงสตรีผู้นั้นได้หมดภาระเกี่ยวกับการมีบุตร ร่างกายของเธอจะมีการเปลี่ย...

  • ตามทรรศนะการแพทย์แผนจีน ให้ความสำคัญกับ เลือด 血 และพลัง หรือที่เรียกว่า ”ชี่” 气 ว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่มีผลต่อประจำเดือน และมีผลกระทบต่อไปถึงการตั้งครรภ์ และการมีบุตรอย่างต่อเนื่องกั...

  • กระเพาะปลา 鱼鳔.jpg
    ในทัศนะการแพทย์แผนจีน มดลูกของหญิงทำงานได้ดี เมื่อ 1) จิง-ชี่ ของไตสมบูรณ์2) มีเทียนกุ่ย ซึ่งเปรียบเสมือนกับฮอร์โมนส์เพศ3) ชี่และเลือด ในเส้นลมปราณชงม่าย และ เริ่นม่าย เต็ม "จิง" เ...

  • ตำรับยาสำหรับหญิงหลังคลอด ตำรับที่เป็นที่นิยมในการช่วยฟื้นฟูร่างกายหญิงในช่วงหลังคลอด คือ “แซฮ่วยทึง” Sheng Hua Tang 生化汤 และตำรับ “เกียงกุยเถี่ยวฮ่วยอิ้ม” X...


  • FAQ Inferitility.png
    Charting ช่วยผู้มีบุตรยากได้อย่างไร การแพทย์แผนจีน ช่วยผู้มีบุตรยากได้อย่างไร ? จุดเด่นของการแพทย์แผนจีนในการช่วยเหลือผู้มีบุตรยาก คืออะไร ? สามารถใช้การแพทย์แผนจีนร่วมกับการแพทย์แ...

  • การดูแลหญิงหลังคลอดบุตร.jpg
    ในทางการแพทย์แผนจีนให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพของคุณแม่หลังคลอดเป็นอย่างยิ่ง เนื่องจากจากความเสื่อมโทรมของร่างกายที่ต้องแบ่งชีวิตตัวเองเพื่อสร้างชีวิตใหม่ในครรภ์ จากการสูญเสียเลือ...

  • 2020-04-03-15-13-33.jpg
    ตำรับจีนตำรับหนึ่ง ที่ชาวไทยนิยมใช้เป็นชาเสริมภูมิต้านทาน COVID-19 ที่ประกอบด้วยสมุนไพร 6 ชนิด(ออกเสียงตามสำเนียงจีนแต้จิ๋ว) คือ ชังตุ๊ก, กิมหงึ่งฮวย, ถิ่งพ้วย, โหล่วกึง, ซึงเฮี๊ยะ...

  • ไวรัสโควิด-19 แพร่ไกล 4.5 เมตรอยู่ในอากาศ 30 นาทีในที่ปิด นักระบาดวิทยาของจีนเผยรายงานล่าสุดที่บ่งชี้ว่า ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่สามารถอยู่ในอากาศได้อย่างน้อย 30 นาทีและแพร่ไปไกลถึ...

  • การแพทย์จีนให้ความสนใจในเรื่องการตั้งครรภ์โดยแบ่งออกเป็นระยะดังนี้ 1) ก่อนตั้งครรภ์ ผู้เป็นมารดาจะต้องจัดเตรียมร่างกายให้แข็งแรงก่อนโดยการรับประทานยาสมุนไพรบำรุงต่างๆ หรือรับประท...


  • ตำรับยาจีน Menopause.jpg
    หนึ่งในลักษณะของอาการวัยหมดประจำเดือนคือ อาการเดี๋ยวมาเดี๋ยวไป เมื่อปัญหาหนึ่งหายไปอีกปัญหาหนึ่งก็เข้ามาแทนที่ โดยปกติวัยหมดประจำเดือนเริ่มต้นเมื่อผู้หญิงอายุประมาณ 40 ปี และจะมีอา...

  • สัญญาณแรกของ Covid-19 จาก MOH – บทสรุป จากกระทรวงสาธารณสุขสิงคโปร์ รับรู้อาการของ COVID-19 จากวันต่อวัน วันที่ 1-3 1. อาการคล้ายหวัด 2. อาการเจ็บคอเล็กน้อย 3. ไม่มีไข้ ไม่เหนื่อย ...

  • แพทย์แผนจีนเชื่อว่าอาหารที่มีฤทธิ์เย็น ทำให้หลอดเลือดหดตัว มดลูกเย็น ทำให้เลือดไหลเวียนไม่สะดวก โลหิตประจำเดือนถูกขับออกได้ยาก อาจทำให้มดลูกเกร็งจนปวดประจำเดือน ส่งผลต่อเนื่องไปถึง...

  • วิธีกระตุ้นการขับถ่าย_v2-FullURL.jpg
    วิธีกระตุ้นการขับถ่าย โดยไม่ต้องใช้ยา 1.ดื่มน้ำมากๆ ดื่มน้ำได้วันละ 8 แก้ว หรือให้เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย นอกจากจะช่วยให้ขับถ่ายดีขึ้นแล้ว ยังช่วยป้องกันปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ไ...

  • ไชน่า เดลีแนะนำวิธีปฏิบัติตัวเมื่อต้องไปทำงานช่วงการแพร่ระบาดของเชื้อโคโรนาไวรัส สายพันธุ์ใหม่ แจกแจงละเอียดตั้งแต่วิธีการเดินทางไปทำงาน การใช้ชีวิตในที่ทำงาน พักเที่ยง รวมไปถึงหลั...

  • ไต ในการแพทย์แผนจีน.jpg
    ไต 肾 ไตเป็นหนึ่งอวัยวะภายในทั้งห้าตามหลักการแพทย์แผนจีน ซึ่งมีความสำคัญสูงมาก แพทย์แผนจีนถือว่าเป็นรากฐานของอวัยวะภายในและ “อิน-หยาง” (Yin–Yang) ไตเป็นกำเนิดของชีวิต ไตเป็นรากฐานข...

  • โลหิตจาง เลือดพร่อง.jpg
    เลือดพร่องในการแพทย์แผนจีน เปรียบเทียบกับโลหิตจาง การแพทย์แผนจีน และการแพทย์แผนตะวันตกมีแนวคิดและเกณฑ์การวินิจฉัยที่แตกต่างกันสำหรับภาวะเลือดพร่องและโรคโลหิตจาง ใน การแพทย์แผนจีน เ...

  • ชาลดความดัน.jpg
    5 สมุนไพร ที่เหมาะจะใช้เป็นชาลดความดันโลหิตสมุนไพรจีนที่มีฤทธิ์ลดความดัน มีอยู่มากมาย แต่ในที่นี้ จะเลือกบางชนิด ที่เหมาะจะนำมาใช้เป็นเครื่องดื่ม 1. ชาเก๊กฮวย 菊花茶เก๊กฮวย มีกลิ่นหอม...

  • "เทียนกุ่ย" 天癸 กับฮอร์โมนส์เพศ ตามหลักการแพทย์แผนจีน "เทียนกุ่ย"天癸 จะเป็นตัวกำหนดความสามารถและพัฒนาการเกี่ยวกับเพศทั้งในชายและหญิง ทั้งในด้านสรีระที่เกี่ยวข้องกับเพศ ความสามารถในกา...

  • ผมร่วง.jpg
    ในการแพทย์แผนจีน เส้นผมถือเป็นส่วนต่อขยายของเลือดและสะท้อนถึงสารสำคัญของไต ผมร่วงมีสาเหตุมาจากความผิดปกติในร่างกายได้หลายสาเหตุ ที่มักเกี่ยวข้องกับสมบูรณ์แข็งแรงของเลือดและไต แต่ละ...

  • งาดำ-ม้ามพร่อง.jpg
    งาดำในทางการแพทย์แผนจีน มีรสหวาน ฤทธิ์กลาง ช่วยบำรุงหยินของตับและไต เสริม"จิง" และเลือด หล่อลื่นลำไส้และปอด ในขณะที่ม้าม ในทางการแพทย์แผนจีน เป็นอวัยวะในระบบย่อยและดูดซึมสารอาหา...
Visitors: 298,704