ขมิ้นชัน
ชื่อสามัญ : Tumeric, Curcuma, Yellow Root
ชื่อวิทยาศาสตร์ Curcuma longa L. วงศ์ ZINGIBERACEAE
ชื่ออื่น ๆ ขมิ้น, ขมิ้นแกง, ขมิ้นชัน, ขมิ้นหยอก, ขมิ้นหัว, ขี้มิ้น, ตายอ, หมิ้น
พญาว่าน,ขมิ้นทอง,ขมิ้นดี,ขมิ้นป่า,ขมิ้นหัว,ขมิ้นไข,ขมิ้นหยวก,ขมิ้นแดง,ตายอ,สะยอ(กะเหรี่ยง),ขี้มิ้น(ใต้,อิสาน),ขมิ้นแกง
สารสำคัญ
เหง้าขมิ้นชันประกอบด้วยสารสำคัญประเภทเคอร์คูมินอยด์เป็นสารสีเหลือง ประกอบด้วยเคอร์คูมิน, เดสเมทอกซีเคอร์คูมิน และบิสเดส เมทอกซีเคอร์คูมิน และน้ำมันหอมระเหย มีสีเหลืองอ่อน มีสารสำคัญคือ เทอร์เมอโรน และซิงจีเบอรีน นอกจากนี้ ยังมีสารกลุ่มเซสควิเทอร์ปีน และโมโนเทอร์ปีน อื่น ๆ อีกหลายชนิด
ขมิ้นชันที่ดีต้องมีปริมาณเคอร์คูมินอยด์คำนวณเป็นเคอร์คูมินและน้ำมันหอมระเหย ไม่น้อยกว่า 5 % โดยน้ำหนัก และ 6% โดยปริมาตรต่อน้ำหนัก ตามลำดับตามมาตรฐานของตำรับยาสมนุไพรของประเทศไทย หรือไม่น้อยกว่า 3% และ 4% ตามลำดับ ตามมาตรฐานขององค์การอนามัยโลก
สรรพคุณ ตามเภสัชกรรมแผนไทย
- เหง้า : ฝาดหวานเอียน แก้ไข้เพื่อดี คลั่งเพ้อ,แก้ไข้เรื้อรังผอมเหลือง,แก้โรคผิวหนัง,แก้เสมหะและโลหิต,แก้ท้องร่วง,สมานแผล,แก้ธาตุพิการ,ขับผายลม,แก้ผื่นคัน,ขับกลิ่นและสกปรกในร่างกาย,คุมธาตุ,หยอดตา แก้ตาบวม ตาแดง, น้ำคั้นจากเหง้าสด ทาแก้แผลถลอก แก้โรคผิวหนังผื่นคัน ลดการอักเสบ ทำ
- ผงขมิ้น(เหง้าแห้งบดเป็นผง) : เคี่ยวกับน้ำมันพืช ทำน้ำมันใส่แผลสด,ผสมน้ำทาผิว แก้เม็ดผดผื่นคัน
- เหง้าสด : ตำกับดินประสิวเล็กน้อยผสมกับน้ำปูนใสพอกบาดแผล และแก้เล็ดขัดยอก, เผาไฟ ตำกับน้ำปูนใสรับประทาน แก้ท้องร่วง,แก้บิด
[ที่มา : วุฒิ วุฒิธรรมเวช]
งานวิจัยเกี่ยวกับ ขมิ้นชัน
>> กระดูก <<
ขมิ้นชันกับการป้องกันกระดูกพรุน 18/03/11
สารสกัดจากขมิ้นชันอาจมีฤทธิ์ปกป้องกระดูก ซึ่งปริมาณสารสำคัญที่เป็นส่วนประกอบในสารสกัดจากขมิ้นชันก็เป็นปัจจัยที่มีความสำคัญด้วยเช่นกัน
>> เบาหวาน <<
ฤทธิ์ลดน้ำตาลในเลือดของ Curcumin จากขมิ้นชัน 30/12/11
curcumin มีฤทธิ์ในการป้องกันและรักษาโรคเบาหวาน จึงอาจเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้เสริมการรักษาผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ได้
ฤทธิ์ป้องกันการทำลายสมองเนื่องจากเบาหวานของขมิ้นชัน 08/05/08
เมื่อให้หนูขาวที่ถูกเหนี่ยวนำให้เป็นเบาหวานโดยการฉีด streptozotocin กินสาร tetrahydrocurcumin (THC) จากขมิ้นชัน ขนาด 80 มก./กก. นาน 45 วัน พบว่า ระดับน้ำตาลในเลือดลดลง และระดับอินซูลินในเลือดสูงขึ้น THC จากขมิ้นจะช่วยป้องกันการทำลายสมองอันเนื่องมาจากการเป็นเบาหวาน โดยไปเพิ่มเอนไซม์ที่มีคุณสมบัติต้านอนุมูลอิสระ คือ superoxide dismutase, catalase, glutathione peroxidase, glutathione-S-transferase และ reduced glutathione ในสมองของหนู พร้อมทั้งลด lipid peroxidation ซึ่งทำให้เกิดการทำลายเมมเบรนในสมอง
ผลของสาร curcumin จากเหง้าขมิ้นในการบรรเทาอาการปวดตามปลายเส้นประสาทในหนูที่เป็นเบาหวาน 17/08/07
การให้ insulin ร่วมกับ resveratrol หรือ curcumin มีผลช่วยบรรเทาอาการปวดในหนูที่เป็นเบาหวานได้
>> มะเร็ง และอนุมูลอิสระ <<
การเสริมฤทธิ์ยาต้านมะเร็งของสาร curcumin จากขมิ้นชัน 07/09/15
การให้สาร curcumin ร่วมกับยาอ๊อกซาลิพลาติน มีประสิทธิภาพในการยับยั้งเซลล์มะเร็งลำไส้ใหญ่เมื่อทำการทดสอบในสัตว์ทดลอง ซึ่งกลไกการออกฤทธิ์คือการเหนี่ยวนำให้เกิดการตายของเซลล์แบบ apoptosis
ฤทธิ์การต้านอนุมูลอิสระในเซลล์ประสาทหนูเมาส์ของสารเคอร์คิวมิน 02/03/12
สารเคอร์คิวมินมีผลในการปกป้องเซลล์ประสาทของหนูเมาส์จากการทำลายของสารอนุมูลอิสระที่ถูกเหนี่ยวนำด้วยไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ซึ่งสารเคอร์คิวมินน่าจะนำไปพัฒนาเป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคที่เกิดจากความเสื่อมทางระบบประสาท เช่น โรคอัลไซเมอร์ และโรคพาร์กินสันได้
ผลของ curcumin ในการป้องกันการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและต้านอนุมูลอิสระในหนูที่อดนอน 03/10/08
"การศึกษาผลการป้องกันการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมและการถูกทำลายด้วยอนุมูลอิสระของสาร curcumin จากขมิ้นชันในหนูถีบจักรที่เหนี่ยวนำให้อดนอนนาน 72 ชม. พบว่าเมื่อให้ curcumin ขนาด 10 และ 20 มก./กก. โดยการฉีดเข้าทางช่องท้องของหนู จะมีผลป้องกันการลดลงของน้ำหนัก ทำให้เคลื่อนไหวได้มากขึ้น ลดอาการกระวนกระวายของหนู
ยังมีผลต้านอนุมูลอนุอิสระโดยลดการเกิด lipid peroxidation ลดระดับ nitrite เพิ่มระดับ glutathione และเอนไซม์ catalase การให้ curcumin ขนาด 10 มก./กก. ร่วมกับ L-arginine ซึ่งเป็น nitric oxide precursor ขนาด 50 มก./กก. จะให้ผลตรงกันข้ามกับการให้ curcumin อย่างเดียว แต่ถ้าให้ curcumin ขนาด 10 มก./กก. ร่วมกับ L-NAME ซึ่งเป็น nitric oxide synthase inhibitor ขนาด 5 มก./กก. จะเสริมฤทธิ์ของ curcumin ให้เพิ่มขึ้น แสดงว่าผลในการป้องกันของสาร curcumin ในหนูจะเกี่ยวข้องกับการเพิ่มปริมาณของ nitric oxide ซึ่งเป็นอนุมูลอิสระชนิดหนึ่ง"
>> ไขมัน หลอดเลือด และหัวใจ <<
น้ำมันขมิ้นชันกับฤทธิ์ต้านภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและฤทธิ์ต้านการอักเสบ 14/09/15
น้ำมันขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและต้านการอักเสบโดยมีกลไกการออกฤทธิ์ผ่านการกระตุ้นและยับยั้งการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและสลายไขมันรวมทั้งยับยั้งกระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นจากการได้รับอาหารที่มีไขมันสูง
ผลของการรับประทานสารสกัดเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชันในผู้ป่วยโรคอ้วนที่มีไขมันในเลือดสูง 02/12/13
การรับประทานสารสกัดเคอร์คูมินอยด์จากขมิ้นชัน 1 กรัม/วัน นาน 30 วัน สามารถลดระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดได้ แต่ไม่มีผลต่อค่าไขมันตัวอื่นในเลือด รวมน้ำหนักร่างกาย และดัชนีมวลกายด้วย
ฤทธิ์ลดไขมันและต้านอนุมูลอิสระของน้ำมันขมิ้นชัน 12/04/12
น้ำมันขมิ้นชันมีผลในการลดไขมันและป้องกันตับถูกทำลายในหนูได้ โดยเป็นผลมาจากฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระของน้ำมัน ดังนั้นน้ำมันขมิ้นชันอาจนำมาใช้ในการช่วยป้องกันโรคที่เกี่ยวกับหัวใจและหลอดเลือดได้
สารเคอร์คูมินช่วยให้การอักเสบที่หัวใจดีขึ้นในหนูที่มีภาวะกล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ 10/08/12
สารเคอร์คูมินจากขมิ้นชันมีฤทธิ์ที่ป้องกันการอักเสบหัวใจในหนูที่เหนี่ยวนำให้เกิดการอักเสบที่กล้ามเนื้อหัวใจ โดยมีผลลดระดับโปรตีน(interleukin-1-beta, tumor necrosis factor-alpha, nuclear factor kappa Bp65 และ GATA-4) ที่ทำให้เกิดการอักเสบได้
น้ำมันขมิ้นชันกับฤทธิ์ต้านภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและฤทธิ์ต้านการอักเสบ 14/09/15
น้ำมันขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและต้านการอักเสบโดยมีกลไกการออกฤทธิ์ผ่านการกระตุ้นและยับยั้งการแสดงออกของยีนที่เกี่ยวข้องกับการสร้างและสลายไขมันรวมทั้งยับยั้งกระบวนการอักเสบที่เกิดขึ้นจากการได้รับอาหารที่มีไขมันสูง
>> ฤทธิ์ต้านจุลชีพ และอื่นๆ <<
ฤทธิ์ต้านไวรัสไข้หวัดใหญ่ชนิดเอของสารสกัด curcuminoids จากขมิ้นชัน 17/12/12
สารสกัด curcuminoids จากขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านเชื้อไวรัสไขหวัดใหญ่ชนิดเอได้
ฤทธิ์ต้านเชื้อราและสารก่อมะเร็งของน้ำมันจากใบขมิ้น 16/12/11
ส่วนประกอบหลักที่อยู่ในน้ำมันคือ α-phellandrene, p-cymene และ terpinolene ซึ่งแสดงให้เห็นว่า มีความเป็นไปได้ที่จะนำน้ำมันหอมระเหยจากใบขมิ้นชันมาพัฒนาเป็นสารกันบูดต่อไป
ฤทธิ์ต้านเชื้อ E. coli ของน้ำมันหอมระเหยขมิ้นชัน 30/10/01
น้ำมันจากใบและเหง้าขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) สกัดด้วยวิธีกลั่นระเหยด้วยไอน้ำ และวิเคราะห์องค์ประกอบทางเคมี โดยวิธี Gas Chromatography พบว่า น้ำมันจากใบขมิ้นชันมีสารเคมีกลุ่มโมโนเทอร์ปีนส์อยู่มาก แต่น้ำมันเหง้าขมิ้นชันมีสารประกอบกลุ่ม เซสควิเทอร์ปีนส์ และเซสควิเทอร์ปีน คีโตน เป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่ น้ำมันจากใบและเหง้าขมิ้นชัน แสดงฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย E. coli สารพันธุ์ MTCC-443 มีค่าความเข้มข้นต่ำสุดที่ยับยั้งเชื้อ (Minimum inhibition concentrations, MICs) เท่ากับ 15.62 และ 125 ไมโครลิตร ต่อ มิลลิลิตร ตามลำดับ
ขมิ้นชัน: ฤทธิ์ทางชีววิทยาใหม่ 14/09/00
Curcumin I,II และ III ซึ่งแยกได้จากเหง้า(rhizome) ของขมิ้นชันแสดงฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ topoisomerase I และ II ar-turmerone เป็น sesquiterpene ketone ในน้ำมันหอมระเหย มีฤทธิ์ฆ่ายุง (mosquitocidal) ส่วนสารสกัดเฮกเซนจากใบขมิ้นชันให้สาร labda-8 (17), 12-diene-15,16-dial มีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อราชนิด Candida albicans
ฤทธิ์ยับยั้งการแพ้จากขมิ้นชัน 29/03/01
สารสกัดเอทิลอะซิเตตและcurcumin จากขมิ้นชัน ( Curcuma longa Linn. ) ขนาดความเข้มข้น 50 ไมโครกรัมต่อมิลลิลิตร แสดงฤทธิ์ต้านการหลั่ง histamine
ข้อมูลจาก สำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
www.medplant.mahidol.ac.th/active/news.asp
- การศึกษาในสัตว์ทดลองหรือในหลอดทดลองพบว่า สารสกัดหรือสารสำคัญของขมิ้นชันมีฤทธิ์ทางยาที่สำคัญพอสรุปได้ดังนี้ 1. ฤทธิ์ขับน้ำดี กระตุ้นการขับน้ำดีทำให้การย่อยอาหารดีขึ้นช่วยบรรเทาอาการ...
- >> กระดูก << น้ำมันขมิ้นชันกับฤทธิ์ต้านภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและฤทธิ์ต้านการอักเสบ14/09/15 น้ำมันขมิ้นชันมีฤทธิ์ต้านภาวะหลอดเลือดแข็งตัวและต้านการอักเสบโดยมีกลไกการออกฤท...
-
ประโยชน์ของชา 茶 ตามหลักการแพทย์แผนจีน ชาเป็นยาสมุนไพรจีนชนิดหนึ่งที่สามารถปรับสมดุลความต้องการของร่างกายและคุณภาพอาหารและยาที่แตกต่างกันได้ ชามีประโยชน์มากมายต่อสุขภาพกายของเรา เช่...
-
เก๋ากี้หรือโกจิเบอร์รี่ โกจิเบอร์รี่ถือเป็นยาบำรุงที่ทรงพลังในการแพทย์แผนจีน ช่วยบำรุงเลือด บำรุงตับ ไต และทำให้สุขภาพโดยรวมดีขึ้น ลำไย ผลลำไยมีฤทธิ์บำรุงหัวใจและม้าม ส่งเสริมกา...
-
ตามหลักการของการแพทย์แผนจีน อาหารสามารถมีปฏิกิริยากับยาสมุนไพร อาจเสริมหรือทำลายสมดุลของพลังงานภายในร่างกายได้ หัวไชเท้าที่มีฤทธิ์เย็น อาจต่อต้านหรือลดผลจากความร้อนของสมุนไพรบางชน...
-
椰子 (เอี้ยจื่อ)Coconut มะพร้าวรสหวานฤทธิ์เย็นเข้าสู่เส้นลมปราณ: หัวใจ ม้าม กระเพาะอาหาร ไต ลำไส้ใหญ่กลไกการออกฤทธิ์: บำรุงชี่, บำรุงเลือด, บำรุงหยิน, บำรุงจิง(สารจำเป็นของร่างกาย), ...
-
ในทางการแพทย์แผนจีน ทุเรียนมีคุณสมบัติอุ่นและเสริมกำลัง ทำให้ม้ามและกระเพาะอาหารแข็งแรง ส่งเสริมการย่อยอาหาร และเพิ่มระดับพลังงาน บางคนรับประทานทุเรียนอาจส่งผลต่อการย่อยอาหาร เนื่อ...
-
วิธีตุ๋นกระเพาะปลาเพื่อการบำรุง วิธีอย่างง่าย • ใช้กระเพาะปลาหนึ่งถุง หรือประมาณ 10 กรัม สำหรับรับประทานหนึ่งคน ใน หนึ่งครั้ง • อาจตุ๋นร่วมกับโสม และเปลือกส้มเล็กน้อยก็ได...
-
สาหร่ายทะเล Hai Dai 海带 หรือ Kelp หรือ Kombu คุณลักษณะทางการแพทย์แผนจีน ในทางการแพทย์แผนจีน Hai Dai (kelp หรือ Kombu) มีรสเค็ม หวานเล็กน้อย ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของกระเพาะ...
-
งาดำ 黑芝麻 (hēi zhī má) Black Sesame คุณลักษณะทางการแพทย์แผนจีน รส: หวาน ฤทธิ์: กลาง เข้าสู่เส้นลมปราณ: ตับ ไต ม้าม การออกฤทธิ์ บำรุงตับและไต หยินและสารสำคัญ ทำให้อวัยวะทั้งห...
-
หนิวหวง หรือหงู่อึ๊ง 牛黄 Niu Huang เป็นสมุนไพรสำคัญในตำรับยาจีนดีๆหลายตำรับ เช่น เพี่ยนจื้อหวาง(เพี่ยงเกี๋ยอึ๊ง) 片仔癀 Pian Zi Huang (Pien Tze Huang) และตำรับอันกงหนิงหวง(อังเก็งหงู่อ...
-
ดอกกุหลาบ 玫瑰花 ในทางการแพทย์แผนจีน มีรสขม ฤทธิ์อุ่น ส่งเสริมการไหลเวียนโลหิต และขจัดภาวะเลือดชะงักงัน ควบคุมพลัง บรรเทาอาการซึมเศร้า ควบคุมประจำเดือน และบรรเทาอาการปวด 5 คุณประโยชน์...
-
กระเพาะปลา หรือ 鱼鳔 หวี เปี้ยว หรือหื่อเผีย ในภาษาจีน โดยแท้จริงแล้วไม่ใช่กระเพาะของปลา หากแต่เป็นอวัยวะในส่วนถุงลมที่ใช้ในการลอยตัวของปลา แพทย์จีนแต่โบราณใช้บำรุงเลือด โดยให้ฉายากร...
-
เก๋ากี้ 枸杞子 จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงหยิน Pharmaceutical Latin:Fructus Lycii Common English:Lycium Fruit , Chinese Wolfberry Fruit , Matrimony Vine Fruit, Lycium barbarum L. and...
-
เก๋ากี้ดำ 黑枸杞 ชื่อลาติน : Lycium ruthenicum Murr ชื่อสามัญ : Black wolfberry ตำราโบราณทางการแพทย์ ของทิเบตบันทึกการใช้เก๋ากี้ดำไว้ว่า เป็นยาสำหรับการรักษาโรคหัวใจ แก้ไขประจำเดือนผ...
-
กุ้ยฮวา 桂花 หรือ หอมหมื่นลี้ (Sweet osmanthus Flower) มีชื่อเรียกอื่นว่า Mu Xi Hua 木犀花 คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสเผ็ดฉุน ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของ ปอด ม้าม ไต กลไกก...
-
เก๊กฮวย 菊花 Pin Yin : JU HUAชื่อวิทยาศาสตร์ : Flos Chrysanthemiชื่อสามัญ : Chrysanthemum Flower เก๊กฮวยมีรสหวานอมขม ฤทธิ์เย็น ไม่มีพิษ เป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณตับ และปอด...
-
กังป๋วย干贝 หรือ กังหื่อหยู มีรสหวาน ฤทธิ์กลาง ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณ ตับ, ไต, ม้าม ช่วยบำรุงหยิน เสริมเลือด บำรุงอวัยวะภายในทั้งห้า ซึ่งประกอบด้วย ตับ ไต หัวใจ ปอด ม้าม บำรุงหยิน บำร...
-
เขี่ยมซิก芡实 Qian Shi Pharmaceutical Latin : Semen EuryalesCommon English : Euryale Seeds, Foxnut เขี่ยมซิก มีคุณลักษณะตามหลักการแพทย์แผนจีนคือ รสหวาน ฤทธิ์ กลาง ออกฤทธิ์ตามเส้นลมป...
-
แปะฮวยจั่วจิเช่า BAI HUA SHE SHE CAO -白花蛇舌草 HERBA HEDYOTIS DIFFUSAE - OLDENLANDIA คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รถขม-หวาน ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของ ตับ กระเพาะอาหาร ลำไส...
-
ฉั่งฉิก 田七 (Tian Qi) หรือ อีกชื่อหนึ่งว่า ซาฉิก 三七(San Qi) คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสหวาน ขมเล็กน้อย ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของตับ กระเพาะอาหาร ลำไส้ใหญ่ ปริมาณการใช...
-
ชวงเกียง 川芎 จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรปรับการไหลเวียนของเลือด Pharmaceutical Latin : Rhizoma Chuanxiong, Rhizoma Ligustici Chuanxiong, Rhizoma Ligustici Wallichii Common English : Szech...
-
ซวนเจ่าเหริน (ซึงจ๋อยิ้ง) 酸枣仁 Suan Zao Ren เป็นสมุนไพรในกลุ่มสงบประสาท เป็นเนื้อในเมล็ดของพุทราจีนพันธุ์หนึ่ง ช่วยให้หลับสบาย สงบจิตใจ ชื่ออื่นๆ : SEMEN ZIZYPHI SPINOSAE - SOUR JUJ...
-
ซึงจ๋อยิ้ง Suan Zao Ren 酸枣仁 SEMEN ZIZYPHI SPINOSAE - SOUR JUJUBE SEEDS จ๋อยิ้งจัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรสงบจิตใจ คุณลักษณะตามหลักการแพทย์แผนจีนคือ รสหวาน เปรี้ยว ฤทธิ์กลาง ออกฤทธิ์ตาม...
-
ดอกกุหลาบ Mei Gui Hua - 玫瑰花 - FLOS ROSAE RUGOSAE คุณสมบัติของสมุนไพร ตามหลักการแพทย์แผนจีน จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรควบคุมพลัง(ชี่) รสหวาน ขมเล็กน้อย ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณขอ...
-
ตังทั้งแห่เช่า (冬虫夏草) Dong Chong Xia Cao ชื่อวิทยาศาสตร์ :Ophiocordyceps sinensis ชื่อสามัญ :Cordyceps,Chinese Caterpillar Fungus จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงหยาง ตังทั้งแห่เช่า หรื...
-
แตงโม XI GUA- 西瓜 - FRUCTUS CITRULLI คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสหวาน ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของกระเพาะปัสสาวะ, หัวใจ, กระเพาะอาหาร, ม้าม และปอด กลไกการออกฤทธิ์ ล้าง...
-
ตังกุย dang gui 当归 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Angelicae Sinensisชื่อสามัญ : Chinese Angelica Root, Tang-Kuei , Dong Quai Root บำรุงเลือด สมุนไพรสำคัญทางสูตินรีเวช มีใช้ในสมุนไพรไทยในช...
-
สารตัวสำคัญที่พบในรากโสมคือ สาร saponin ซึ่งแบ่งเป็น 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม ginsenoside กลุ่ม panaxoside และกลุ่ม chikusetsusaponin สารในโสมที่สำคัญที่สุดคือคือ ginsenoside ซึ่งจะมีในโส...
-
มักมีคำถามเรื่องการเลือกใช้โสมว่า เมื่อไหร่จะใช้โสมเอี่ยเซียม เมื่อไหร่จึงจะใช้โสมคน ในที่นี้จะขอสรุปเป็นข้อสังเกตคร่าวๆ โสมเอี่ยเซียม 西洋参 - RADIX PANACIS QUINQUIFOLII รสหวาน ขมเล็...
-
ผู้ที่ใช้สมุนไพรจีนประจำ มักได้รับคำแนะนำว่า ไม่ควรทานหัวผักกาดพร้อมกับโสม สาเหคุที่มาของคำแนะนำนี้ก็เพราะว่า โสมมีสรรพคุณในการบำรุงปอดและไตเพิ่มน้ำ แก้กระหายปรับสภาพอาการที่หายใจไ...
- โสมเอี่ยเซียม 西洋参 หรือชื่อสามัญว่า American Ginseng ชื่อละตินคือ Panax quinquefolium L. ส่วนโสมคน หรือหยิ่งเซียม 人參 ชื่อสามัญคือ Ginseng ชื่อละตินคือ Panax Giaseng C. A. Mey. ดังที...
-
บักเฮียง 木香 Mu Xiang หรือโกฐกระดูกในตำราสมุนไพรไทย เป็นอีกหนึ่งสมุนไพรที่ไทยยืมมาจากต่างประเทศ โดยเฉพาะจากสมุนไพรจีน สังเกตจากชื่อที่มีคำว่า "โกฐ" นำหน้า ชื่อสามัญ : Costus Rootชื...
-
แบะตง 麦冬 mai dong สมุนไพรบำรุงประสาท เสริมสร้างการทำงานของปอด บำรุงหัวใจ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Ophiopogonis, Tuber Ophiopogonisชื่อสามัญ : Ophiopogon Tuber , Creeping Lily-Turf R...
-
เรามักได้ยินชื่อเสียงของปลิงในด้านอาหารบำรุงขึ้นชื่อของชาวจีน ถึงขนาดได้รับการยกย่องให้เป็น "บิ๊กโฟร์" ของอาหารจากทะเลขึ้นโต๊ะจีนในงานเลี้ยงใหญ่ ร่วมกับกระเพาะปลา, หอยเป๋าฮื้อ และห...
-
ปักตังเซียม หรือตั่งเซียม 党参 Dang Shen สมุนไพร " เสริมภูมิคุ้มกันร่างกาย" ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Codonopsisชื่อสามัญ : Codonopsis Root, Bonnet Bellflower , Downy Bellflower Root ค...
-
ฟ้าทะลายโจร ชื่อวิทยาศาสตร์ : Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.ex Nees วงศ์ : ACANTHACEAE ชื่อสามัญ :The Creat Creyat Root,Halviva,Kariyat,Kreat ชื่ออื่น : หญ้ากันงู (สงขลา)...
-
หวงฉี หรืออึ่งคี้ในสำเนียงจีนแต้จิ๋ว 黄芪 (huáng qí) เป็นพืชสายพันธุ์ Astragalus membranaceus เป็นสมุนไพรยืนต้นที่มีถิ่นกำเนิดในภาคเหนือและภาคตะวันออกของจีน และถูกนำมาใ...
-
แปะฮะ 百 合 Bai He ชื่อวิทยาศาสตร์ : Bulbus Lilii ชื่อสามัญ : Lily Bulb, Brown's Lily Bulb, Lilium รสหวานอมขม ฤทธิ์เย็นเล็กน้อย เป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของหัวใจและปอด จัด...
-
ตั่วจ้อ 大枣 da zao ; อั่งจ้อ hong zao 紅枣 หรือพุทราจีน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Fructus Jujubeชื่อสามัญ : Jujube, Jujube Berry , Chinese Date , Zizyphus , Black Date รสหวาน ฤทธิ์อุ่น ออกฤทธ...
-
โต่วต๋ง 杜仲 Du Zhong สมุนไพรแก้ปวดหลัง ลดความดันโลหิต ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cortex Eucommiaeชื่อสามัญ : Eucommia Bark คุณลักษณะ รสหวาน ฉุน ฤทธิ์อุ่น เป็นสมุนไพรที่ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณ...
-
Wu Zhu Yu 吳茱萸 - FRUCTUS EVODIAE รสเผ็ด ขม ฤทธิ์ร้อน มีพิษเล็กน้อย ออกทธิ์ตามเส้นลมปราณของตับ ม้าม กระเพาะอาหาร ไตขนาดการใช้ ครั้งละ 1.5 - 10 กรัม กลไกการออกฤทธิ์ อบอุ่นจงเจียว ขับ...
-
โสมคน หยิ่งเซียม REN SHEN - 人參 Pharmaceutical Latin : Radix GinsengCommon English : Ginseng Root , Asian Ginseng Root, Panax จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงพลัง (ชี่) คุณสมบัติ รสหวาน ...
-
โสม แบ่งตามแหล่งที่เกิดกว้างๆ ได้ 2 กลุ่มคือ - โสมตะวันออก- โสมตะวันตก โสมตะวันออก คือโสมดั้งเดิมของชาวจีน ถ้าดิบๆก็เรียกกันว่าโสมคน ถ้าผ่านกรรมวิธีแปรรูป ก็จะเป็น โสมขาว โสมแดง โส...
-
หลินจือ 灵芝 Pin-yin : Ling ZhiBiological Name : Ganoderma lucidum หรือ Ganoderma japonicumPharmaceutical Name : Ganodermae lucidi, Ganodermae japoniciชื่ออื่นๆ : mu ling zhi 木靈芝,jun...
-
ไหว่ซัว 淮山 ( huai shan ) สมุนไพรเสริมระบบดูดซึมสารอาหาร จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงพลัง(ชี่) ชื่อวิทยาศาสตร์ : Rhizoma Dioscoreaeชื่อสามัญ : Chinese Yam, Mountain Yam Rhizome รสหวาน...
-
เหล่งเอี๊ยง LING YANG JIAO -羚羊角 Cornu Saigae TataricaeCornu AntelopisAntelope Horn คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีน รสเค็ม ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของ หัวใจ ตับ ปอด ขนาดการใช้...
-
ห่อสิ่วโอว 何首烏 He Shou Wu จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงเลือด ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Radix Polygoni Multiflori (Preparata)ชื่อสามัญ : Fleeceflower Root , Flowery Knotweed Root, mbing Kno...
-
เออเจียว อาเจียว หรืออากา ในสำเนียงจีนแต้จิ๋ว 阿膠 (Ā Jiāo) เป็นยาแผนจีนที่เป็นเจลาตินที่สกัดจากหนังลา มีการใช้เป็นเวลาหลายพันปีในประเทศจีนและส่วนอื่น ๆ ของเอเชียเพื่อประโยชน์ต่อสุขภ...
-
อิมเอี่ยขัก หรืออินหยางฮั่ว YIN YANG HUO 淫羊藿 ชื่อละติน : Herba Epimediiชื่อสามัญ : Epimedium , Horny Goat Weed Leaf จัดอยู่ในกลุ่มสมุนไพรบำรุงหยาง คุณลักษณะของสมุนไพร ตามหลักการแพท...
-
เอี่ยเซียม 西洋參 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Radix Panacis Quinquefoliiชื่อสามัญ : American Ginseng Root โสม มีหลายสายพันธุ์แตกต่างกันตามแหล่งที่เกิด แต่มีสิ่งร่วมกันคือ มี “จินเซโนไซด์&...
-
เอี่ยกำเก็ก 洋甘菊 มีชื่ออื่นๆว่า German chamomile, wild chamomile, Hungarian chamomile, pineapple weed. คุณสมบัติตามหลักการแพทย์แผนจีนคือ รสหวาน ขมเล็กน้อย ฤทธิ์กลาง ออกฤทธิ์ตามเส้นล...
-
หวงเหลียน หรืออึ่งโน้ย ในสำเนียงจีนแต้จิ๋ว คุณสมบัติ รสขม ฤทธิ์เย็น ออกฤทธิ์ตามเส้นลมปราณของหัวใจ ลำไส้ใหญ่ ตับ กระเพาะอาหาร (ถุงน้ำดี, ม้าม) ขนาดการใช้ ครั้งละ 1.5 - 10 กรัม กลไกก...
- >> คอเลสเตอรอล << ฤทธิ์ลดระดับคอเลสเตอรอลและต้านอนุมูลอิสระของสารสกัดจากเมล็ดลูกซัด 14/10/13 พบว่าเฉพาะสารสกัดเอทิลอะซิเตรท มีผลลดระดับคอเลสเตอรอล ไตรกลีเซอไรด์ และไขม...
-
ชื่อสามัญ Egg Woman, Tamalaki, Hazardana, Stonebreaker, Seed-under-leaf ชื่อวิทยาศาสตร์ Phyllanthus amarus Schumach. & Thonn สรรพคุณ หญ้าลูกใต้ใบ-ทั้งต้น รสขมจัด แก้ไข้ทุกชนิด...
-
กระเจี๊ยบเขียว : กลูตาไทโอนริมรั้ว ชื่อสามัญ Okra, Lady’s Finger, Gombo, Gumbo, Bendee, Quimbamto ชื่อวิทยาศาสตร์ Abelmoschus esculentus (L.) Moench จัดอยู่ในวงศ์ชบา (MALVACE...
-
ชื่อสามัญ : Garlicชื่อวิทยาศาสตร์ : Allium sativum L. จัดอยู่ในวงศ์พลับพลึง (AMARYLLIDACEAE) และอยู่ในวงศ์ย่อย ALLIOIDEAE (ALLIACEAE)ชื่ออื่นๆ : หอมเทียม(เหนือ),ปะเซ้วา(แม่ฮ่องสอน)...
-
กระเจี๊ยบแดง Jamaican Sorel, Roselleชื่อวิทยาศาสตร์ : Hibiscus sabdariffa L.วงศ์ : Malvaceae ชื่ออื่น : กระเจี๊ยบ กระเจี๊ยบเปรี้ย ผักเก็งเค็ง ส้มเก็งเค็ง ส้มตะเลงเครง สรรพคุณ : กระ...
-
ขิง Ginger ชื่อวิทยาศาสตร์ : Zingiber officinale Roscoe จัดอยู่ในวงศ์ขิง (ZINGIBERACEAE) สรรพคุณ เหง้า : รสหวานเผ็ดร้อน ขับลม แก้ท้องอืด จุกเสียด แน่นเฟ้อ คลื่นไส้อาเจียน แก้หอบไอ...
-
ปลาไหลเผือก ชื่อวิทยาศาสตร์ Eurycoma longifolia Jack จัดอยู่ในวงศ์ปลาไหลเผือก (SIMAROUBACEAE) รากปลาไหลเผือก รสขมเมาเย็นเล็กน้อย ถ่ายพิษต่างๆ,ถ่ายฝีในท้อง,ถ่ายพิษไข้ พิษเสมหะและโลห...
-
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tiliacora triandra (Colebr.) Diels วงศ์ : Menispermaceae ชื่อสามัญ : Bamboo grass ชื่ออื่น : จ้อยนาง (เชียงใหม่) เถาย่านาง เถาวัลย์เขียว (กลาง) ยาดนาง (สุราษฎร์ธา...
-
รางจืด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Thumbergia laurifolia Lindl. วงศ์ : Acanthaceaeชื่ออื่น : กำลังช้างเผือก ขอบชะนาง เครือเขาเขียว ยาเขียว (ภาคกลาง) คาย รางเย็น (ยะลา) จอลอดิเออ ซั้งกะ ปั้งก...
-
สำหรับผู้ที่มีกระเพาะปลาตกทอดมาตั้งแต่สมัยอากงอาม่า ต้องการจะนำมารับประทาน ปัญหาหนึ่งที่มักพบก็คือ ไม่รู้จะหั่นยังไง ครั้นจะนำไปให้ร้านขายยาหั่นให้ ร้านขายยาจีนสมัยนี้ก็เหลือน้อยเต...
-
สมุนไพรจีน ที่ทราบกันดีว่าส่งเสริมการไหลเวียนของเลือดและพลังชี่: ตังกุย (Angelica Sinensis): ตังกุยมักใช้ใน การแพทย์แผนจีน เพื่อบำรุงและกระตุ้นเลือด มักใช้เพื่อรักษาภาวะขาดเลือดและ...